Page 149 -
P. 149

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                   136



                          รูปแบบจําลองของบริษัท  เพท (Pet)   เปนตัวอยางที่ดีของการใชรูปแบบจํา ลองของ

                   ลอจิสติกสหลังจากมีการรวมบริษัท  (Merger) ใน ค.ศ. 1989 เมื่อบริษัทเพท  ผูผลิตอาหารเฉพาะได
                   รวมกับบริษัท แวน เดอ แคมปส ฟรอซเซน ซีฟูด  (Van  De Kamp’s Frozen Seafood)   กอนที่จะ

                   รวมตัวกันเสร็จสมบูรณ เพท   ใชรูปแบบจําลองภายในของตนเองในการประเมิน ตนทุนและการ

                   บริการ ในเวลา 3 วันหลังจากการรวมบริษัท ใบสั่งซื้อของแวน เดอ แคมป  จะเขาสูระบบของบริษัท
                   เพท และผลิตภัณฑทุกชนิด จะไดรับการกระจายลอจิสติกสจากเพท

                          ผลที่เกิดขึ้นในเชิงปริมาณที่สามารถจัดได เปนดังนี้

                              1.  สินคาคงคลังลดลง 1.5 ลานดอลลาร

                              2.  ยอดขายเพิ่มขึ้นรอยละ 10
                              3.  อัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลังมากที่สุดในประวัติของบริษัท คือ 5.34

                              4.  อัตราการใหบริการลูกคารอยละ 98

                              5.  ไมมีการเพิ่มจํานวนบุคลากร
                                จากผลนี้  ทําใหบริษัทคาดวาในป ค .ศ. 1990 จะซื้อคอมพิวเตอรมาใชในการตลาด

                     และกระบวนการจัดลอจิสติกส



                                          ปญญาประดิษฐ และระบบเชี่ยวชาญ

                                (Artificial Intelligence and Expert Systems : AI & ES)



                          ปญญาประดิษฐ เกิดจากการพัฒนาดานคอมพิวเตอร เปน      “การใหความสําคัญแก

                   แนวความคิดและวิธีการอางอิงโดยคอมพิวเตอร และการนําเสนอดวยสัญลักษณที่นํามาใชในการ
                   อางอิงนั้น ” คําวา  “ปญญา ” (Intelligence)   นั้นอาจจะเปนเรื่องของความชํานาญ  รวมถึง

                   ความสามารถในการแกปญหา   การเรียนรู  การเขาใจภาษา มาประดิษฐเพื่อ แกปญหาการรวมกัน

                   เรียกวา ปญญาประดิษฐ  (Artificial Intelligence)   และตามปกติ เปนการพิจารณาพฤติกรรมของ
                   มนุษย

                          ปญญาประดิษฐจะเนนที่จํานวนของเซท  โดยอาศัยโครงสรางของจุดหมายที่กําหนดใหใน

                   คอมพิวเตอร  ความคลายคลึงของเสียง  ระบบการเลนเชิงการแขงขัน  (Game-playing Systems) โดย
                   อาศัยความสามารถของมนุษยเปนผูแปลสูภาษาธรรมชาติ เรียกวาระบบเชี่ยวชาญ  (Expert System :

                   ES)  ขณะที่จํานวนเครื่องมือของปญ ญาประดิษฐถูกจํากัด  เพื่อศักยภาพในการจัดการลอจิสติกส

                   แบบประยุกต  ปญญาประดิษฐจะนํามาใชเพื่อสรางรูปแบบจําลองของความตองการเวลาตอบสนอง

                   สําหรับการสงมอบใหลูกคา  รูปแบบจําลองของตนทุนและเวลาของการขนสง  สําหรับความ
                   แตกตางวิธีการขนสง ทําเลที่ตั้ง   เสนทางการขนส ง  จุดปลายทางที่คลังสินคา การใหบริการแก
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154