Page 157 -
P. 157

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  144


                                                   กิจกรรมการจัดซื้อ

                                                (Purchasing Activities)



                          การจัดซื้อเปรียบเสมือนหนาที่ในการใหบริการ เชน กิจกรรมการจัดซื้ อเปนการตอบสนอง

                   ความตองการของฝายผลิตและฝายอื่น ๆ ในองคกรดวยการซื้อ แตมิใชการตั้งคําถามถึงความ

                   ตองการซื้อ (Forge) ความสัมพันธระยะยาวกับผูเสนอขายสินคา หรือการทําความเขาใจกับความ
                   ตองการของลูกคา/ผูบริโภคขององคกร

                          ภาพของบทบาทของการจัดซื้อที่สําคัญใ    นองคกร จะมองในลักษณะเชิงฉากที่เกิด

                   (Scenario) ในขั้นปฐมภูมิ จะมองการจัดซื้อใหแคบลงเปนกลุมของกิจกรรม  (Set of Activities) ที่จะ

                   ใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการภายในองคกร เชน แผนกการผลิต แผนกการตลาด แผนก
                   การจัดการ และอื่นๆ ที่ตองการจัดหา /จัดซื้อบางสิ่งบ างอยางจากองคกรภายนอก ดังนั้น ขอบเขต

                   ของกิจกรรมการจัดซื้อจะระบุจากหนวยงานภายในองคกร

                          การจัดซื้อจะมุงไปที่การใหไดมาซึ่งสินคาและบริการที่ถูกตอง สูสถานที่ที่ถูกตอง ณ เวลาที่

                   ถูกตอง ในปริมาณที่ถูกตอง ในเงื่อนไขหรือคุณภาพที่ถูกตอง และจากผูเสนอขายที่ ถูกตอง ณ ราคา
                   ที่ถูกตอง  ขณะที่การจัดการแสดงทบบาทหลักในการทําใหการดําเนินงานภายในองคกรเปนไป

                   อยางราบรื่นดวยการสรางความมั่นใจความเชื่อถือไดในแหลงของอุปทาน ซึ่งไมจําเปนตองมีตนทุน

                   ต่ําสุดเสมอไป ในหลายกรณีการจัดซื้ออาจจะเปนศูนยกลางในการกระจายอํานาจโดยต รงจากลางสู

                   บน ดวยการกดราคากับผูเสนอขายสินคา ซึ่งเปนแนวคิดที่ไมถูกตอง ดังตัวอยางการจัดซื้อที่
                   ผิดพลาดในแนวคิดนี้ คือบริษัท เยนเนอรัล มอเตอร คอรปอรเรชั่น ดวยการใชนโยบายแข็งกราวกับ

                   ผูเสนอขายสินคาแตละราย ดวยการตั้งราคาซื้อต่ํามากที่ทําใหองคกรไดรับผลประโยชนจากราคาใน

                   ระยะสั้น (Short-term price gain) ระหวาง คศ. 1992-1993 เพื่อตอบสนองกําลังการผลิตใน คศ .
                   1994-1995 ผูเสนอขายสินคาใหแกองคกรจํานวนมากก็จะใหบริการแกบริษัท โดยถือนโยบายราคา

                   ต่ําสุดเปนอันดับแรก แตสําหรับธุรกิจอื่น ๆ ผูเสนอขายสินคาจะเส นอใหทั้งแนวความคิดใหม ๆ

                   และชิ้นสวนแบบใหม ๆ เพราะองคกรเนนเพียงแครายละเอียดของการจัดซื้อระยะสั้นแบบวันตอวัน

                   (Shot-term, day-to-day  Purchasing Details) มากกวาการมองภาพรวมและการที่จะใหภาพชัดแจง
                   จะตองเปนการมองในเชิงระบบเทานั้น เพื่อมุงตอบสนองเปาห มายการกอใหเกิดประโยชนมากขึ้น

                   แกองคกร โดยไมไดตั้งเปาที่ตนทุนต่ําสุดในการจัดซื้อวัสดุแตเพียงอยางเดียว
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162