Page 160 -
P. 160

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  147


                   บทบาทเชิงกลยุทธของการจัดซื้อ

                   (The Strategic Role of Purchasing)

                          บทบาทเชิงกลยุทธของการจัดซื้อจะปรากฎจากกิจกรรมที่มีความสัมพันธกับแหลงกําเนิด

                   (Sourcing-Related Activities) ในแนวทางเพื่อสนับสนุนใหบรรลุวัตถุประสงคทั้งหลายทั้งปวงของ

                   องคกร การจัดซื้อก็สามารถที่จะทําใหเกิดความสําเร็จเชิงกลยุทธใหแกองคกรไดเชนกัน และดู
                   เสมือนวาจะเปนบทบาทหลัก (Key Role) ในความสําเร็จขององคกรในหลาย ๆ ดาน เชน

                                 1. การเขาถึงตลาดภายนอก (Access to External  Market) ดวยการติดตอภายนอก

                   กับตลาดผูเสนอขายสินคา การจัดซื้อจึงสามารถกอใหเกิดผลประโยชนที่สําคัญแกองคกรไดดวย
                   การจัดหาขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม วัสดุใหม วัตถุดิบใหม บริการแบบใหม แหลง

                   ทรัพยากรใหม ผูเสนอขายสินคารายใหม  และการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขใหมของตลาด เพื่อนํามา

                   ปรับปรุงกลยุทธขององคกรในการสรางโอกาสทางการตลาด  (Market Opportunities)  โดยใชการ

                   แกปญหาเชิงสรางสรรค (Creative solution) ดวยการบูรณาการงานการจัดซื้อ หรือการรีเอนจีเนียร
                   ริ่งการจัดซื้อ (Reengineering Purchasing) ซึ่งมิใชการลดขนาด (Downsizing) หรือการจัดการขนาด

                   ใหถูกตอง  (Right Sizing)  เพราะการบูรณาการงานไดรวมตัวกระบวนการประดิษฐขึ้นใหม

                   (Reinventing) หรือการตัดทิ้ง  (Cut  Back) มากกวาการพยายามลด  (Reducing) หรือการเพิ่ม
                   (Streamlining)  ในองคกรจํานวนมาก เขาใ จวาการจัดซื้อพัฒนามาจากงานสะสาง  (Clerical) สู

                   บทบาทเชิงกลยุทธ  (Strategic Role)  อันเนื่องมากจากการลดลงของกฎระเบียบ  (Deregulation)

                   พรอม ๆ  กับการเพิ่มขึ้นของการแขงขัน   (Increased Competition) ดวยการหาโอกาสในการ
                   ปรับปรุงบุคคลใหเหมาะสมกับตําแหนงงาน โดยการล     ดและกําจัดเอกสาร  (Reducing and

                   Eliminating Paperwork) ใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได พรอม ๆ กับการระบุกระบวนการการจัดซื้อ

                   หลัก ๆ ใหชัดเจน และการสรางความเชื่อมั่นวาสามารถที่จะมีวัตถุดิบ วัสดุในปริมาณที่เพียงพอใน
                   กระบวนการผลิต ซึ่งอาจจะอาศัยที่ปรึกษาจากภายนอก (External Consultant) มาชวยออกแบบใหม

                   (Redesign)  ที่ทําออกมาในรูปของแผนภาพ  (Chart)  หรือแผนที่ของแตละกิจกรรมในกระบวนการ

                   (Process Mapping) การระบุและการกําจัดกิจกรรมที่ไมมีมูลคาเพิ่ม  (Nonvalue-Added) รวมถึงการ

                   ปรับปรุงกิจกรรมใหมีมูลคาเพิ่ม แลวจึงกําหนด เปนขอบเขตของการจัดซื้อใหครอบคลุม  3 อยาง
                   ไดแก

                                         1)    การจัดการใหรอบการสั่งซื้อสมบูรณ  (Managing  The  Complete

                   Purchase Order Cycle)

                                         2)  การรับคํารองการเปลี่ยนแปลงคําสั่งซื้อ (Requesting Change Orders) และ
                                         3)  การบริหารโครงการการจัดซื้อที่มีมูลคานอย  (A  Small Dollar

                                            Procurement Charge Card Program)
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165