Page 111 -
P. 111

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    98



                          สมมติใหองคกรเสนอขายผลิตภัณฑเปนจํานวนทั้งสิ้น 35 รายการผลิตภัณฑ จํานวน 4 กลุม

                   ไดแกกลุม A, B, C และD โดยมีกําไรตอหนวยและจํานวนรอยละของรายการผลิตภัณฑในแตละ
                   กลุม (ตาราง 5-1 และ 5-2) และกําหนดกลุมลูกคาไว  5 กลุม ไดแกกลุม  1, 2, 3, 4 และ 5 มีลูกคา

                   ทั้งสิ้น 400 คน สัดสวนของลูกคาแตละกลุมเทากับรอยละ  5, 10, 15, 20 และ 50 ตามลําดับ (ตาราง

                   5-3)
                          ตารางที่ 5-1  การกําหนดผลิตภัณฑตามกําไรตอหนวยและจํานวนหนวยผลิตภัณฑ

                     กลุมผลิตภัณฑ           กําไรตอหนวย            จํานวนหนวยของรายการผลิตภัณฑ

                                                                           รอยละ           หนวย

                          A               มากกวา 18,5000                      5          1.75  ≈  2

                          B                 16,000-18,500                      7          2.45  ≈  3

                          C                  5,000-10,000                     10           3.5  ≈  4

                          D                             10-     220           78          27.3  ≈  2
                                               รวม                           100                35



                          ขั้นตอนถัดไปจะเปนการพิจารณารวมกันระหวางรายชื่อลูกคารวมกับกลุมผลิตภัณฑ

                   (Customer-Product Combination) โดยจัดกลุมลูกคาเปนกลุม ๆ จากกําไรรวมสูงสุดตอจากนั้น
                   สมมุติใหแบงลําดับความสามารถในการทํากําไรเปน  20 อันดับ ลําดับกําไรของการซื้อผลิตภัณฑ

                   ของลูกคาแตละรายในแตละกลุมอาจจะแตกตางจากตารางนี้ได แตเปนที่นาสังเกตวา ลูกคาในกลุม

                   ที่ 1 และ 2 นาจะเปนลูกคาที่ทํากําไรสูงสุดใหแกองค กรใน 4 อันดับแรก ดวยการนําตาราง 5-4 (A)

                   5-4 (B) 5-4 (C) และ 5-4 (D) มาเรียงตอกัน แลวตัดแบงลูกคาออกเปน 5 กลุม (ตาราง 5-5)

                          เมื่อตัดแบงลูกคาก็จะไดรหัสลูกคา และชื่อ- สกุลลูกคาในแตละกลุม  พรอมกันดวย สิ่งที่
                   เกิดขึ้นในขณะนี้ คือ ลูกคาคนเดียวกัน จะ มีชื่อซ้ําอยูในหลายระดับของกําไร ของผลิตภัณฑแตละ

                   กลุม ที่เปนเชนนี้ เพราะลูกคาแตละรายจะสั่งซื้อผลิตภัณฑจากองคกรหลายรายการ ผลิตภัณฑทําให
                   รายชื่ออาจจะปรากฏไดมากกวา  1 ครั้ง เชน อาจจะปรากฏในตารางที่  5-6 (A) 5-6 (B) 5-6 (C) และ
                   5-6 (D)  องคกรจึงตองพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง ตามปกติ นาจะใหชื่อสกุลลูกคาที่ปรากฏชื่อครั้งแรกอยู
                   ในกลุมผลิตภัณฑที่ทํากําไรมากกวา ซึ่งจะตองพิจารณาจํานวนลูกคาในแตละกลุม (รอยละ) รวมกับ

                   กําไรรวมของผลิตภัณฑแตละกลุมเมื่อเปรียบเทียบกับกําไรรวม ในการจัดกลุมลูกคา จะพบวาลูกคา
                   กลุมที่ 1  จะเปนกลุมที่กําไรรวมสูงสุด จึงนาจะเปนกลุมที่ซื้อผลิตภัณฑ กลุม A  แลวทํากําไรเปน
                   อันดับ 1 ผลิตภัณฑกลุม B ทํากําไรเปนอันดับ 2 ผลิตภัณฑกลุม C เปนอันดับ 7   ผลิตภัณฑกลุม D
                   เปนอันดับ 12  สวนลูกคากลุม 2  นาจะซื้อผลิตภัณฑ A  เปนอันดับ 3  ผลิตภัณฑ B  เปนอันดับ 4

                   ผลิตภัณฑ C เปนอันดับ 13 และผลิตภัณฑ D เปนอันดับ 15 กลุมลูกคา 3 4  และ 5 ก็จะพิจารณาใน
                   ทํานองเดียวกัน (ตาราง 5-5) สิ้นสุดขั้นตอนนี้ ธุรกิจจะทราบชื่อ-สกุลที่อยู กําไรที่ไดรับจากลูกคาแต
                   ละรายในทุกกลุม  (ตาราง 5-6)
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116