Page 109 -
P. 109

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    96



                   การวิเคราะหตนทุนและรายไดในแตละระดับของการบริการลูกคา

                   (Cost / Revenue Trade-Offs)

                          ในการบริการลูกคา จะเกิดตนทุนที่สําคัญ ๆ  มีอยู 6 ประเภทดวยกัน คือตนทุนการบริ การ

                   ลูกคาในแตละระดับ ตนทุนการถือครองสินคาคงคลัง ตนทุนสินคาแตละกลุม ตนทุนคาขนสง

                   ตนทุนการคลังสินคา และตนทุนขอมูลขาวสารและกระบวนการสั่งซื้อ ซึ่งจะแปรผันไม เปนไปตาม
                   ระดับของการบริการลูกคา แตตนทุนบางประเภทเปนตนทุนคงที่ เชน ตนทุนในกระ บวนการสั่งซื้อ

                   ตนทุนบางประเภทเปนตนทุนผันแปร หรือกึ่งคงที่ ถึงผันแปร เชน ตนทุนคาขนสง ถาบริการขนสง

                   ไมเต็มขนาดบรรทุกก็จะเปนตนทุนคงที่ไมวาจะขนสงปริมาณเทาใด ก็ตาม แตถาปริมาณขนสงเกิน
                   กวาขนาดบรรทุก ก็จะเปนตนทุนกึ่งคงที่ดังผันแปร เปนตน ดังนั้น  ในการกําหนดระดับการบริการ

                   ลูกคา จําเปนจะตองคํานึงถึงตนทุนสําคัญเหลานี้ ควบคูไปกับความสามารถในการกอใหเกิดรายได

                   กําไร โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระดับ การบริการลูกคา จะตองคํานวณตนทุน และ

                   รายไดที่เกิดขึ้นควบคูกันไปตลอดเวลา  และอาจจะตองพิจารณา เพิ่มหรือลดระดับบริการลูกคาอีก
                   ครั้งหนึ่ง เชน แตเดิมกําหนดระดับบริการลูกคาไว รอยละ 90  และตองการเพิ่มเปนรอยละ  95  แต

                   เมื่อพิจารณาแลว ตนทุนเพิ่มขึ้นรอยละ 20  ขณะเดียวกันรายไดเพิ่มแคเพียงรอยละ  15  เทานั้น  และ

                   เมื่อพิจารณาตอไปอีกพบวา  สามารถเพิ่มระดับบริการลูกคาไดถึงรอยละ  99   ณ ตนทุนเทาเดิม  อัน
                   จะสงผลใหรายไดเพิ่มขึ้นรอยละ  20   หรือ ในทางตรงกันขาม  เมื่อพิจาร ณาตนทุนแลว  ควรจะลด

                   ระดับบริการลูกคาลงมาเหลือแครอยละ  88 เพราะจะทําใหตนทุนลดลงกวารอยละ 20 ขณะที่รายได

                   คงที่  ตามปกติผูผลิต จะเลือกชองทางการจัดจําหนายทางออม  คือ  ผานคนกลาง  เพื่อชวยกระจาย
                   สินคาใหไดพื้นที่มากขึ้น  ระยะเวลาเร็วขึ้นและตนทุนต่ําลง  การบริการลูกคาของผูผลิตจะสงผล

                   กระทบโดยตรงตอรายไดของผูผลิต  รายไดของพอคาสงและบริการของพอคาสงตอพอคาปลีก

                   และโซตอไปยังบริการลูกคาคนสุดทายดวย  เมื่อพิจารณาตอปฏิกิริยาตอบสนองของลูกคาตอสินคา
                   ขาดมือของผูบริโภคนั้น จะเห็นวาเกิดจากขอบกพรองของพอคาสง  และผูผลิตที่มีตอรานคาปลีก

                   กลาวคือ  สินคาขาดมือในรานคาปลีก  เกิดจากขอบกพรองหลายประการ  ประการหนึ่งเกิดจ  าก

                   ขอบกพรองของพอคาสงดวย  ในกรณีที่ลูกคาไมเปลี่ยนราน  แตเปลี่ยนตราสินคาหรือเปลี่ยนขนาด

                   ดวยการทดแทน  หรือรอคอย  รานคาปลีกจะไมเสียประโยชน หรือ ในกรณีลูกคาเปลี่ยนราน
                   ผูผลิตก็ไมเสียประโยชน  แตถาลูกคาเปลี่ยนตรายี่หอ  ผูผลิตจะเสียประโยชน    ไมวาลูกคาจะมี

                   ปฏิกิริยาตอบสนอง  อยางไรก็ตามเมื่อเกิดสินคาขาดมือขึ้นในรานคาปลีก  รานคาปลีก  ก็จะมี

                   ปฏิกิริยาตอบสนองตอพอคาสงดวยเชนกัน

                          เมื่อเปนเชนนี้  จะเห็นวา ความลมเหลวในการบริการลูกคาของพอคาสงตอรานคาปลีก มี

                   สาเหตุเกิดจาก 3  กิจกรรม  ไดแก  สินคาขาดมือ  สงสินคาเร็วเกินไป  (ทําใหรานคาปลีกไมสามารถ

                   จัดการที่วางและคลังสินคาได )   หรือการสงสินคาชาเกินไป  ดังนั้นปฏิกิริยาของพอคาปลีกจะ
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114