Page 107 -
P. 107

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    94



                   ตาง ๆ ของผูผลิต เชน จากโรงงานไปยังศูนยกลางลอจิสติกสของเซียร  (Sears)  และจากศูนยกลาง

                   ลอจิสติกสไปสูผูบริโภค

                          สวนสําคัญของระบบนี้คือการลดจํานวนสินคาคงคลังในระดับ โดยปราศจากการลดระดับ

                   การบริการลูกคา กอนหนานั้นเซียรมิเคยจะทํานายเกี่ยวกับ สี ขนาด แ  ละคุณลักษณะอื่น ๆ ของ

                   ผลิตภัณฑที่ลูกคาตองการ ณ รานคาปลีกแตละรานจนกระทั่ง คศ. 1984 ระบบนี้ไดกอใหเกิดสมาชิก

                   จํานวนมากในตลาดสหรัฐอเมริกา ลูกคาของเซียรไดรับสินคาของเคนมอร   (Kenmore)  ขณะที่
                   รูปแบบของระบบนี้อาจจะเปนไปไมได สําหรับสินคาอุปโภคบริโภค แตไดสรางขอคิดอยางหนึ่งวา

                   “ทําอยางไรการวิจัยผูบริโภคจะสามารถนํามาสรางกลยุทธทางการตลาดได”


                          ตามปกติ ลูกคาจะเปลี่ยนราน  (Switch Stores) เมื่อมีประสบการณเกี่ยวกับสินคาขาดมือใน
                   หนวยผลิตภัณฑหนึ่ง ถาลูกคามีความจงรักภักดีนอย ตรายี่หออื่นสามารถทดแทนกั นได ซึ่งอาจจะ

                   เปนขนาดอื่นหรอตรายี่หออื่น ภาพที่ 5-2 แสดงวา ระดับการบริการลูกคาสามารถเพิ่มขึ้นไดจากรอย

                   ละ 70  เปนรอยละ 90  ไดอยางไร โดยปราศจากการเพิ่มในจํานวนสินคาคงคลัง ถาลูกคาตั้งใจที่จะ
                   ยอมรับการแทนที่ในผลิตภัณฑ  2  อยาง ในกรณีนี้ ระดับการบริการลูกคาไมควรจะวัดฐานจากการ

                   เก็บสตอกของสินคา (เชน ครีมอาบน้ําโชกูบูตสึโมโนกาตาริ ขนาด  50 มล.  ตองเปนผลิตภัณฑทุก

                   ขนาดของครีมอาบน้ํา โชกูบูตสึ โมโนกาตาริ)

                          สิ่งสุดทายสําหรับผูบริโภคผูซึ่งเผชิญกับสินคาขาดมือในรานคาปลีกก็คือการเปลี่ยนตรา

                   ยี่หอ (Switch Brands) โดยเขาจะเปลี่ยนไปในผลิตภัณฑที่มีราคาเดียวกัน  ก็ไดราคาสูงกวาหรือราคา

                   ต่ํากวาก็ไดเมื่อการแทนที่เกิดขึ้น พอคาปลีกจะไมสูญเสียยอดขาย ขึ้นอยูกับ ความคิดของการแทนที่

                   ของผูบริโภค ผูขายอาจจะเลือกผลิตภัณฑที่มีราคาสูงกวาหรือเลือกผลิตภัณฑที่มีตราของผู  ผลิต
                   (National Brand) เดียวกันกับตราสินคาที่ขาดมือ แทนที่ตรายี่หออื่น ๆ  แตถาผูบริโภครูวาผูบริโภค

                   ตั้งใจในการแทนที่ดวยขนาดเดียวกัน ก็ควรจะใหขาวสารไปสูพอคาปลีกรานสะดวกซื้อ  และพอคา

                   สงวาควรจะยอมรับการแทนที่นี้ดวยเชนกัน

                          ถาการเปลี่ยนตรายี่ห อหมายถึงการเปลี่ยนสถานที่ดวยละก็ผูผลิตจะสูญเสียอยางชัดเจน

                   อยางนอยก็คือกําไรจากการซื้อในครั้งนี้ ดวยสินคาขาดมือและการใหผูบริโภคในตําแหนงของการ

                   เปลี่ยนตรายี่หอ นอกจากนั้น ในการทดแทนของผูบริโภค ผูบริโภคจะเลือกตรายี่หอที่ทดแทนนี้เปน
                   ตรายี่หอใชเปน ประจําในอนาคตได ถาเปนเชนนี้ ผูผลิตจะสูญเสีย สวนครองตลาด  ยอดขายและ

                   กําไรในอนาคตได ซึ่งเปนการยาก ที่จะใหผูบริโภคกลับมาใชตรายี่หอเดิมอีก  เมื่อเปนเชนนี้ การ

                   สูญเสียทั้งสวนครองตลาด ยอดขายและกําไรนั้นมากจนไมสามารถประเมินมูลคาออกเปนตัวเลขที่

                   ชัดเจนได
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112