Page 110 -
P. 110

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    97



                   แบงเปน 2  ระยะ ไดแก ระยะสั้น และระยะยาว  ในระยะสั้น  พอคาปลีกจะมีปฏิกิริยา  2  อยาง คือ

                   อาจจะสั่งซื้อใหม หรือทดแทนดวยสินคาอื่น  โดยจะตองใชขอมูลอื่นๆมาชวยในการตัดสินใจ  คือ
                   ประเภทของความลมเหลวของบริการ  และขอจํากัดดานเวลาของผูซื้อดวย  สวนปฏิกิริยาในระยะ

                   ยาว  ก็จะศึกษาขอมูลจากบันทึกในอดีตเกี่ยวกับความลมเหลววา  เคยเกิดขึ้นหรือไม  แล ะเปนแบบ

                   ใด  โดยพิจารณาถึงปริมาณยอดขาย  ความเปนเอกลักษณของสินคา  กําไร ความแข็งแกรงของตรา
                   ยี่หอในตลาด  รวมถึงอัตราการหมุนเวียนของสินคาของพอคาสงนั้นๆ เพื่อพิจา  รณาปฏิกิริยา

                   ตอบสนองไดอยางเหมาะสม  เชน  การลดที่วางบนชั้นวางของ  ไมใหความรวมมือในการสง เสริม

                   การตลาด  ตัดสินคานั้นๆออก  ปฏิเสธที่จะขายสินคาใหมใหอีกครั้ง  เพิ่มจํานวนสินคาสํารองเปนตน


                   การจัดการกลุมลูกคาดวยการวิเคราะหแบบเอบีซี

                   (ABC Analysis)


                          การจัดกลุมลูกคา สามารถจัดโดยอาศัยเกณฑพื้นฐานหลากหลาย  ดังนี้
                                 1. ความสามารถในการทํากําไร (Beneficial in terms of Profitability)

                                 2. รายไดจากการขาย (Sales Revenue)

                                 3. อัตราการเจริญเติบโตของตลาด ( Segment Growth Rates)
                                 4. อื่นๆ (Others)

                          ถาใชเกณฑของความสามารถในการทํากําไร  ควรพิจารณารวมกันระหวางลูกคาและ

                   ผลิตภัณฑ  โดยพิจารณากําไรที่ไดรับหลังจากหักตนทุนคงที่ออกไปแลว   การจัดลูกคาแตละคนเขา
                   อยูในกลุมลูกคาแตละกลุม  จําเปนที่จะตองคอยๆพิจารณาหาความสัมพันธและปริมาณหนวยที่

                   ลูกคาแตละคนซื้อในแตละผลิตภัณฑ  เพื่อคํานวณหากําไรทั้งหมดที่ธุรกิจไดรับจากลูกคาแตละคน

                   แลวจึงจัดเรียงรายชื่อลูกคาที่ซื้อสินคาที่ซื้ อสินคาแลวไดกําไรสูงสุดแกธุรกิจ  แสดงออกมาในรูป
                   เมทริกซการจัดกลุมลูกคาตามกําไรของผลิตภัณฑ (Customer-Production Contribution) ดังนี้

                          1.  การจัดกลุมผลิตภัณฑตามเกณฑความสามารถในการทํากําไร  อาจจะแบงเปน  4 กลุม 5

                   กลุม หรือเทาใดก็ได  โดยเรียงลําดับตามความสามารถในการทํากําไรจากมากสูนอย  เชน  จัดเปน  4

                   กลุม  ไดแก กลุม A,B,C และ D  เปนตน  ถัดจากนั้นจึงกําหนดสายผลิตภัณฑ  (Product Line) และ
                   รายการผลิตภัณฑ  (Product Item)  ในแตละกลุม  ดังนั้น  ผลิตภัณฑกลุม  A   จะเปนกลุมที่มี

                   ความสามารถในการทํากําไรสู งสุดแตจะมีจํานวนนอยที่สุดอาจจะเพียงแครอยละ  5-10  แตไมเกิน

                   20 ของจํานวนรวม  และในทางตรงขามผลิตภัณฑกลุม  D  จะเปนกลุมที่มีความสามารถในการทํา

                   กําไรต่ําสุดแตมีจํานวนผลิตภัณฑมากที่สุดอาจจะถึงรอยละ  80  ของจํานวนรวมเลยก็ได
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115