Page 106 -
P. 106

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    93



                   ก็คือ ถาโรงพยาบาลหยุดการ สั่งซื้อตรายี่หอนี้ก็จะสงผลใหยอดขายเทากับศูนย    บริษัทจะสูญเสีย

                   ยอดขายและกําไรจากมารดาผูใหกําเนิดทารก  ณ โรงพยาบาลนี้แทบทั้งหมดเกือบรอยละ 100  ทันที
                   และอาจจะยากที่ตัดสินวาตนทุนการสูญเสียที่แทจริงเปนเทาใด   เพราะ โรงพยาบาลและแพทย

                   ตองการระดับการบริการลูกคาสูงถึงรอยละ  97 และระยะเวลาในการสงมอบเพียงแค  48 ชั่วโมง

                   เทานั้น  ดังนั้น จึงไมควรใหเกิดนมผงขาดสตอกสําหรับในโรงพยาบาล


                          ในอีกดานหนึ่ง พอคาปลีกสวนมากจะสูญเสียยอดขายถาไมมีความชํานาญเรื่องสินคาขาด
                   มือ จนกระทั่งทําใหการจัดการคาปลีกตองระมัดระวังและใหความสําคัญวา ทําอยางไรรานคาจะอยู

                   ในตําแหนงที่สามารถจะแขงขันได จึงจะตองดูความถี่ ของจํานวนสินคาขาดมือ ในแตละหนวย

                   ผลิตภัณฑ ที่ผูบริโภคมีความตั้งใจที่จะเปลี่ยนหรือยายรานซื้อ ความถี่ของจํานวนสินคาขาดมือ
                   อาจจะเกิดผูบริ โภคในการเปลี่ยนแปลงความความภักดีไปสู รานอื่น ดวยขอมูลนี้ ผูผลิตควรจะ

                   กําหนดรอบระยะเวลาการสั่งซื้อและจัดสรรระดับสิน คาในคลังสินคาไวใหมาก ขณะที่พอคาปลีก

                   ควรจะไดรับคําข อรองใหปรับปรุงระยะเวลารอคอยใหนานขึ้น ความคงที่สม่ําเสมอเกิดขึ้นมาก
                   เทาใด ระดับสินคาคง คลังที่จัดเก็บไวในสตอกสูงขึ้นมากเทานั้น ซึ่งจะสรางความพึงพอใจใหแก

                   ผูบริโภคไดโดยปราศจากจํานวนสินคาคงคลังที่มากเกินไป

                          ในสถานการณที่เกิดสินคาขาดมือ สวนใหญผูบริโภคจะไมเปลี่ยนรานซื้อ นี่  นําสูจุด

                   ตัดสินใจขั้นที่  2 ดังภาพที่  5-3 ณ จุดนี้ ผูบริโภคตองตัดสินใจถาสถานการณนั้น ๆ ยอมรับได
                   ผูบริโภคผูซึ่งตองการซื้อ อาจจะตั้งใจเลื่อนการซื้อออกไปจนกระทั่งมาซื้อใ หมในวันขางหนา หาก

                   ยังมีผลิตภัณฑนั้นอยูที่บาน ถาไมมี ผูบริโภคอาจตัดสินใจเลือกใชตรายี่หออื่น ๆ เปนสิ่งที่ผูบริโภค

                   ไมชอบที่จะ  สั่งซื้อเปนกรณีพิเศษสําหรับสินคาสะดวกซื้อ  (Convenience Goods) เชน ครีมอาบน้ํา
                   เปนตน

                          สําหรับบางผลิตภัณฑ ความอิ่มตัวข องผูบริโภคโดยไมตั้งใจอาจจะทําใหเกิดความหวังใน

                   คําสั่งซื้อพิเศษ ในคศ . 1960 เวรลพูล และเซียร ไดศึกษาถึงพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภคพบวา
                   ความอิ่มตัวของผูบริโภคไมไดคาดหวังวาจะรับ ผลิตภัณฑที่สั่งซื้อสวนใหญทันที ในความเปนจริง

                   ผูบริโภคตั้งใจที่จะรอรอยรับ สินคาไปไดอีกถึง 5-7  วัน (60-72  ชั่วโมง)  การศึกษานี้สามารถนําไป

                   วางแผนระบบลอจิสติกสได 2 ประการ คือ กาบริการหลังการขายในสวนของการติดตั้งนั้นเปนสิ่งที่

                   สําคัญ ณ รานคาปลีก และศูนยกลางลอจิสติกสระดับคาปลีกตองการการขนยายผลิตภัณฑอยางมี
                   มาตรฐานเพื่อความรวดเร็ว แตไมจําเปนตองกอน 5-7 วัน ทําใหธุรกิจประหยัดเงินลงทุนไปไดมาก

                          ผลิตภัณฑ อื่น ๆ ทั้งหมดเมื่อผลิตแลวจะถูกสงไปเก็บยังคลังสินคาตาง ๆ จํานวนมาก

                   โดยเฉพาะเมื่อผูผลิตไดรับคําสั่งซื้อจากพอคาปลีก หรือผลิตภัณฑจะสงจากผูผลิตไปยังคลังสินคา
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111