Page 102 -
P. 102

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    89



                   เปนรอยละกับจํานวนคําสั่งซื้อ ปญหาเหลานี้สามารถระบุและลดหรือจํากัดไดโดยการนําเอาความ

                   คิดเห็นของผูผลิตและผูบริโภคมาวิเคราะหรวมกัน
                          8.  ความสามารถในทดแทนกันไดของ สินคา (Product Substitution)  การทดแทนกันได

                   เกิดขึ้นเมื่อสินคาสามารถถูกทดแทนไดในขนาดที่แตกตางกัน หรือ สินคาอื่น ๆ ที่มีผลเทากัน หรือ

                   ดีกวา เชน ผูบริโภคอาจจะสั่งซื้อแชมพู ซันซิลสําหรับผมธรรมดา ขนาด  15  ออนซ ถาผูบริโ ภคมี
                   ความตั้งใจที่จะยอมรับขนาด 8 ออนซ หรือ 20 ออนซไดในระหวางที่ขนาด 15 ออนซขาดมือ ผูผลิต

                   สามารถเพิ่มระดับการบริการลูกคาดวยการวัดความสามารถที่จะใชเปนประโยชนไดดวยระยะที่

                   เวลาที่เฉพาะเจาะจง การทดแทนในสินคา 2 อยางทําใหผูผลิตเพิ่มระดับการบริการลูกค าจากรอยละ

                   70 เปนรอยละ 97 โดยไมมีการเปลี่ยนแปลงในระดับสินคาคงคลังได (ภาพที่ 5-2)


                                              ปริมาณการสงของเมื่อเทียบ

                                              กับปริมาณสั่งซื้อ (รอยละ)
                                                        100%-


                     ระดับบริการหลังจากยอมรับ
                    ในการทดแทนกับระดับ                                              การยอมรับ


                    บริการ                          90   -
                                                                                    ผลิตภัณฑเพิ่ม
                                                    80   -                          ระดับบริการ
                                                                                    จากรอยละ 70

                            ระดับบริการลูกคา(เดิม)                                 เปนรอยละ 97

                                                     70  -

                                                     60  -
                                                                           จํานวนการทดแทนเฉลี่ย

                                                                                  1                 2                   3
                          ภาพ 5-2 ความสามารถในการทดแทนไดของผลิตภัณฑ 2 ชนิด

                          ที่มา :  Ballue และคณะ หนา  47



                          ถาองคกรยังคงระดับการบริการลูกคารอยละ  97 โดยปราศจากการทดแทนไดใน สินคา 2
                   อยางสามารถที่จะคงระดับการบริการลูกคาไดดวยการเพิ่มจํานวนสินคาคงคลังอีกรอยละ 28%
                          เมื่อพัฒนานโยบายการแทนที่ของผลิตภัณฑไดอยางเหมาะสม ผูผลิตควรจะทํางานให
                   ใกลชิดกับผูบริโภคเพื่อที่จะไดทราบขอมูลและไดประโยชนอยางมาก ควรจะบันทึกการทดแทนกัน

                   ไดเพื่อใชวัดผลงานดวยโครงการทดแทนกันไดของผลิตภัณฑที่ประสบผลสําเร็จตองการ
                   ติดตอสื่อสารที่ด ีระหวางผูผลิตกับลูกคา
                          สวนประกอบของการบริการลูกคา ในระหวางขายเปนสิ่งที่มองเห็นไดอยางชัดเจน เพราะ
                   สงผลกระทบโดยตรงตอยอดขาย
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107