Page 31 -
P. 31
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
copy right copy right copy right copy right copy right
copy right copy right copy right copy right copy right copy right
copy right copy right copy right copy right
19
สารเพิ่มความเสถียร (Stabilizer) สําหรับอิมัลชันของยางมะตอย (Asphalt
emulsion)
ตัวดัดแปร (Modifier) สําหรับอิมัลชันของน้ํายาง (Latex emulsion)
copy right copy right copy right copy right copy right copy right
สารคอมพาวนด (Compounding agent) สําหรับไวนิลพลาสติก
ตัวยึดติดสําหรับหมึกพิมพ
สารเคลือบไม (Wood stain)
ตัวยึดติดสําหรับการผลิตวัสดุลามิเนตที่ตองการเพิ่มความกระดาง (Stiffness) หรือ
ความคงรูป (Rigidity)
(2) น้ํามันสนซัลเฟต (Sulfate turpentine) น้ํามันสนจากการ Recovery นี้เปนน้ํามันระเหยงาย
(Volatile oil) ที่มีในไมสน หรือ Coniferous ซึ่งมีประโยชนและมูลคาสูง น้ํามันระเหยงายจะ
ออกมาปะปนกับไอน้ําและกาซในระหวางการสกัดเยื่อ เมื่อเปดวาลวหมอตมเยื่อ (Digester)
เพื่อแยกเยื่อกับ Black liquor จะมีการแยกน้ํามันระเหยงายออกจากไอน้ํา ตัวอยางการใช
ประโยชนน้ํามันสนจากกระบวนการสกัดเยื่อนี้มีดังนี้
ใชผลิตตัวยึดติดประเภท Pressure-sensitive และ Hot-melt
ใชผลิตสารแตงกลิ่นอาหาร เชน สเปยรมิ้นต (Spearmint) เปปเปอรมิ้นต
(Pepermint) เมนทอล (Mentol) และซิโทรเนลลอล (Citronellol)
ใชผลิตสารตานออกซิเดชันที่ใชกับน้ํามันหลอลื่น
(3) น้ํามันทอลล (Tall oil) ในระหวางตมไมเพื่อสกัดเยื่อ สารพวกเรซินและเอสเตอรของกรดไขมัน
ในไมจะเกิดปฏิกิริยา Saponification กับดาง ไดสารพวกคอลลอยดและอิมัลชันซึ่งสามารถ
รวมกับอนุมูลโซเดียมเปนเกลือ เรียกเกลือโซเดียมของคอลลอยดเหลานี้วา น้ํามันทอลล ซึ่งจะ
copy right copy right copy right copy right
ลอยขึ้นมาบนผิวของ Black liquor ขณะนําไประเหยน้ําออกในขั้นตอน Recovery จึงสามารถ
copy right copy right copy right copy right copy right copy right
แยกน้ํามันทอลลออกมาไดงาย การใชประโยชน เชน สารเสริมสภาพพลาสติก (Plasticizer)
สําหรับสีและสารเคลือบ เปนตน
6 กระบวนการฟอกสี (Bleaching process)
การฟอกสีเยื่อกระดาษเพื่อเพิ่มความขาวสวาง (Brightness) เปนสําคัญ โดยการกําจัดสารประกอบ
ที่ทําใหเกิดสีคล้ําซึ่งเกาะติดอยูกับลิกนิน สําหรับเยื่อบางชนิดการฟอกสีชวยกําจัด เรซิน กรดไขมัน
เฮมิเซลลูโลส และ Extractives ไดดวย สารเคมีที่ใชฟอกสีมักทําลายเซลลูโลสไดบางซึ่งจะมากหรือ
นอยหรือขึ้นกับชนิดสารเคมีและสภาวะการฟอกสี (อุณหภูมิและระยะเวลา) ดังนั้นการฟอกจึงทําให
ความแข็งแรงของเยื่อลดลง (Kirwan, 2005)
copy right copy right copy right copy right