Page 26 -
P. 26

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                   14


                   อนุมูลซัลเฟอรใน Cooking liquor จะทําปฏิกิริยากับลิกนินและคารโบไฮเดรต เรียกปฏิกิริยานี้วา

                   Sulfonation ไดสารประกอบเชิงซอนขนาดใหญซึ่งจะถูกไฮโดรไลสตอไปเปนลิกนินซัลโฟเนต
                   (Lignin sulfonate) และคารโบไฮเดรตที่ละลายงาย โมเลกุลขนาดเล็กลงจนสามารถละลายใน Liquor
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   ได ทําใหสกัดเยื่อออกมาไดงาย กระบวนการนี้กําจัดลิกนินออกไดเกือบหมด แตกําจัดเฮมิเซลลูโลส

                   ไดนอย ผลไดประมาณรอยละ 60-75 ขอดีของกระบวนการ NSSP ไดแก

                   (1)  สามารถใชกับไมนานาชนิด รวมถึงไมที่สกัดเยื่อยากๆ เชน โอค ยาง เปนตน
                   (2)  สิ้นเปลืองสารเคมีต่ํา
                   (3)  ผลไดคอนขางสูง
                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   (4)  เยื่อจะสีออนกวาเยื่อกึ่งเคมีวิธีอื่นๆ


                   เยื่อที่ไดมีความแข็งแรง สามารถควบคุมปริมาณลิกนินในเยื่อไดตามการใชงาน เชน เยื่อมีลิกนินสูง
                   จะมีความกระดาง (Stiffness) สูง เหมาะสําหรับผลิตกระดาษที่ตองการความคงรูป และกระดาษลอน

                   ลูกฟูก เยื่อที่มีลิกนินปานกลางถึงต่ํา สามารถดูดซับน้ําไดเร็ว เหมาะสําหรับผลิตกระดาษกันไข

                   (Greaseproof paper) กระดาษสําหรับทําความสะอาด เปนตน

                   5.3  การสกัดเยื่อกระดาษดวยวิธีทางเคมี (Chemical pulping)

                   หลักการสกัดเยื่อกระดาษดวยวิธีทางเคมีคือ ใชการตมวัตถุดิบกับสารละลายเคมี หรือ Cooking

                   liquor จนกระทั่งลิกนินออนตัวและถูกกําจัดออกไปกับ Liquor โดยเซลลูโลสถูกทําลายนอยที่สุด เสน
                   ใยเซลลูโลสจะแยกออกมาไดโดยไมตองใชการบดเขามาชวย ดังนั้นสภาวะการตมและระยะเวลาจะ

                   นานกวาวิธีกึ่งเคมี เฮมิเซลลูโลสและลิกนินสวนใหญจะละลายออกมาอยูใน Cooking liquor ทําให
                   ผลไดต่ําประมาณรอยละ 40-80 เยื่อที่ไดจะมีความแข็งแรงสูงกวาเยื่อสกัดดวยวิธีทางกลและกึ่งเคมี
                   แตตนทุนการผลิตสูง เยื่อนี้จึงเหมาะสําหรับผลิตกระดาษคุณภาพดีและแข็งแรง สารเคมีที่ใชสกัดเยื่อ

                   มีหลายชนิดและมักเรียกชื่อกระบวนการนั้นๆ ตามชื่อสารเคมีหลักที่ใช ในที่นี้จะนํามากลาว 3 วิธี

                   ดังตอไปนี้



                   5.3.1  กระบวนการซัลไฟต (Sulfite process)
                   ในอดีตการสกัดเยื่อกระดาษดวยวิธีทางเคมีนิยมใชวิธีซัลไฟตมากที่สุด ตอมาวิธีซัลเฟตเขามาแทนที่
                   มากขึ้น กระบวนการซัลไฟตนิยมใชกับไมเนื้อออนจําพวกตนสน การกําจัดลิกนินขึ้นกับชนิดสารเคมี

                   ใน Liquor และอัตราการซึมเขาเนื้อไมของสารละลาย บางโรงงานจะใชไอน้ําความดันสูงในขณะตม


                   ไมเพื่อเรงใหสารละลายซึมเขาเนื้อไมเร็วขึ้น สารเคมีที่ใชในกระบวนการซัลไฟตคลายกระบวนการ
                   กึ่งเคมีที่กลาวขางตนและแบงเปน ซัลไฟตสภาพกรด ไบซัลไฟต และซัลไฟตสภาพดาง เชนเดียวกัน

                   สารเคมีสําคัญประกอบดวยเกลือไบซัลไฟต กรดซัลฟวรัส และเบส สมการเคมีสําคัญใน Liquor มี
                   ดังนี้
                                           copy right       copy right    copy right    copy right








                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31