Page 24 -
P. 24

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                   12


                   การบดเยื่อดวยลูกกลิ้งบดที่ไมคมจะไดเยื่อปน เมื่อนําไปวัดคา Freeness จะลดลงตามความคมที่

                   ลดลง เมื่อนําไปขึ้นรูปเปนแผนกระดาษจะทําใหกําลังการผลิตลดลง เนื่องจากการระบายน้ําออกจาก
                   แผนกระดาษชาลงตามคา Freeness ที่ลดลง
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right


                   Freeness เปนคาแสดงอัตราการระบายน้ําออกจากชั้นเยื่อกระดาษ ซึ่งจะสัมพันธกับความยาวของ

                   เยื่อกระดาษ เยื่อยาวจะระบายน้ําออกไดเร็ว คา Freeness สูง ตรงกันขามกับเยื่อสั้นจะระบายน้ํา
                   ออกไดชา นั่นคือคา Freeness ต่ํา นอกจากนี้คา Freeness จะสัมพันธกับคาตานทานแรงดันทะลุ
                   (Bursting strength) ของกระดาษแบบเอ็กโพเนียนเซียล การวัดคา Freeness นิยมใชวิธี Canadian

                   standard tester และ Schopper Riegler tester


                   5.2  การสกัดเยื่อกระดาษดวยวิธีกึ่งเคมี (Semi-chemical pulping)

                   การสกัดเยื่อกระดาษดวยวิธีกึ่งเคมีจะใชทั้งสารเคมีและแรงบดในการสกัดเยื่อ โดยตมวัตถุดิบใน
                   สารละลายเคมีชนิดตางๆ เรียกวา Cooking liquor เพื่อทําใหลิกนินออนตัวและละลายออกมา แลว

                   แยกเสนใยออกจากไมหรือวัตถุดิบที่ผานการตมมาแลวดวยลูกกลิ้งบด (Grinder) หรือแผนบด (Disk
                   refiner) เพื่อสกัดเยื่อออกมา เรียกวา Defibering การสกัดเยื่อดวยวิธีกึ่งเคมีนี้นิยมใชกับไมเนื้อแข็ง

                   และไมลมลุก เชน ไผ ชานออย ฟางขาว เปนตน ขอดีของวิธีการสกัดเยื่อดวยวิธีกึ่งเคมี คือ
                   (1)  เยื่อที่ไดจากวิธีนี้จะมีความแข็งแรงมากกวาเยื่อที่สกัดดวยวิธีทางกล แตนอยกวาเยื่อที่สกัด

                        ดวยวิธีเคมี
                   (2)  ตนทุนการผลิตไมสูงมากเมื่อเทียบกับวิธีทางเคมี เพราะผลได (Yield) สูงกวาและสิ้นเปลือง

                        สารเคมีนอยกวา เนื่องจากลิกนินและเฮมิเซลลูโลสถูกกําจัดออกไปเพียงรอยละ 25-50 และ
                        30-40 ตามลําดับ ในขณะที่วิธีทางเคมีจะกําจัดลิกนินออกไปประมาณรอยละ 90 และเฮมิ
                        เซลลูโลสประมาณรอยละ 50-80
                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                   (3)  สามารถใชกับอุตสาหกรรมขนาดเล็ก-กลาง ลงทุนไมสูง

                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right

                   สารเคมีที่ใชสกัดเยื่อมีผลตอปริมาณลิกนินและเฮมิเซลลูโลสที่ถูกกําจัดออกไปและเซลลูโลสที่ถูก

                   ทําลาย ซึ่งสามารถจัดลําดับ เรียงจากมาก  นอยไดดังนี้

                   ลิกนินถูกกําจัดออกไป: ซัลไฟตสภาพกรด > ซัลไฟตสภาพเปนกลาง > คราฟท > โซดา
                   เฮมิเซลลูโลสถูกกําจัดออกไป: โซดา > คราฟท > ซัลไฟตสภาพเปนกลาง > ซัลไฟตสภาพกรด
                   เซลลูโลสที่ถูกทําลาย: โซดามากที่สุด และ คราฟทนอยที่สุด



                   5.2.1  กระบวนการซัลไฟตสภาพกรด (Acid sulfite process)

                                                                               
                   สารเคมีใน Cooking liquor ประกอบดวยไบซัลไฟต (Bisulfite, HSO 3 ) และซัลเฟอรไดออกไซด
                   (SO 2) ลิกนินถูกกําจัดออกไปมาก ทําใหผลไดลดลง (รอยละ 60-70) เยื่อที่ไดมี Freeness ต่ํา เหมาะ
                   สําหรับผลิตกระดาษที่ตองการความตานทานแรงดันทะลุสูง






                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29