Page 20 -
P. 20

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                   8


                   ตางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา บราซิล ญี่ปุน และสิงคโปร เปนตน กระดาษที่ผลิตจากเยื่อรีไซเคิลมี

                   สัดสวนประมาณรอยละ 94 ของกระดาษที่ผลิตทั้งหมดในประเทศ (สถาบันคีนันแหงเอเซีย, 2551)

     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   การผลิตเยื่อรีไซเคิลจะตองนําน้ําเยื่อ (Slurry) ที่ไดไปผานการกําจัดสิ่งเจือปน (De-inking) ไดแก

                   หมึกพิมพ กาว สารเคลือบ หรือพลาสติกที่ลามิเนตติดกับกระดาษ วิธีการกําจัดสิ่งเจือปนในเยื่อ

                   กระดาษรีไซเคิลที่นิยมใช ไดแก
                   (1)  การลางดวยน้ําปริมาณมากๆ เพื่อกําจัดสิ่งเจือปนที่มีขนาดเล็กกวาเสนใย และสารเติมแตงที่
                        ละลายน้ําได รวมทั้งเศษหมึกเล็กๆ ที่หลุดออกมา ในขั้นตอนนี้อาจมีการเติมโซเดียมไฮดรอก
                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                        ไซด และสารกําจัดจุลินทรีย

                   (2)  การกรอง เพื่อกําจัดสิ่งเจือปนที่มีขนาดใหญกวาเสนใย เชน พลาสติก สารเคลือบ
                   (3)  การหมุนแยกวัตถุดวยแรงเหวี่ยง (Centrifuge) จะใชแยกวัตถุที่มีความหนาแนนแตกตางกับ
                        น้ําออกไป

                   (4)  การลอย (Floatation) เปนการกําจัดหมึกดวยการใชสารลดแรงตึงผิว (Surfactant) เปนวิธีการ

                        ที่นิยมมากในอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ



                   5  กระบวนการสกัดเยื่อกระดาษ (Pulping process)

                   การสกัดเยื่อกระดาษเปนการแยกเสนใยออกมาจากการยึดติดกันดวยลิกนินและคารโบไฮเดรตที่อยู
                   ในเซลลพืช สามารถทําไดหลายวิธีขึ้นกับวัตถุดิบและคุณภาพของเยื่อที่ตองการ กระบวนการที่ใชใน

                   อุตสาหกรรมที่จะนํามากลาวมี 3 วิธี ดังตอไปนี้

                     5.1  การสกัดเยื่อกระดาษดวยวิธีทางกล (Mechanical pulping)
                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                   การสกัดเยื่อกระดาษดวยวิธีทางกลเปนวิธีที่รวดเร็วและตนทุนต่ําที่สุด ใชการบดเนื้อไมดวยลูกกลิ้ง

                   บด (Grinder หรือ Grinding stone) หรือแผนบด (Disk refiner) ขนาดใหญที่หมุนดวยความเร็วสูง


                   จนเนื้อไมละเอียดแลวนํามาคัดแยกเศษไมชิ้นหยาบๆ นํากลับไปบดใหม เยื่อที่ไดเสนใยสั้นและ
                   บางสวนแตกหัก ทั้งยังมีปริมาณเฮมิเซลลูโลสและลิกนินสูง ดังนั้นผลได หรือ Yield จึงสูง (รอยละ

                   90-95) ทําใหเยื่อชนิดนี้เปนที่นิยมใชแมวาความแข็งแรงต่ํา ไดแก ใชผลิตกระดาษที่ตองการความ
                   หนาแนนสม่ําเสมอ ผิวเรียบ ดูดซับของเหลวไดงาย เชน กระดาษหนังสือพิมพรายวัน ซึ่งเหมาะสม
                   ทั้งดานราคาและสมบัติการดูดซับหมึกไดเร็ว



                   ปจจุบันมีการใชความรอน (ไอน้ํา) รวมกับการบดไม เรียกวา Thermomechanical pulping (TMP)

                   โดยนําไมไปอบไอน้ําใหออนตัวกอนการบด เยื่อที่ไดมีความแข็งแรงสูงขึ้นแตตนทุนการผลิตก็สูงขึ้น

                   ดวยจากคาพลังงานที่ใชเพิ่มขึ้น







                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25