Page 16 -
P. 16

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                   4


                   (3)  การจัดเรียงตัวของสายโซเซลลูโลสสวนใหญเปนโครงสรางแบบผลึก (Crystalline) และมี

                        พันธะไฮโดรเจนระหวางสายโซดวย ทําใหการเรียงตัวจับกันแนนจนสารละลายซึมผานไดยาก
                        เรียกวา Inaccessible region การจัดเรียงตัวของเซลลูโลสแบบผลึกทําใหเยื่อกระดาษและ
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                        กระดาษมีความคงรูป (Rigidity) และตานทานสารเคมี

                   (4)  สายโซเซลลูโลสบางสวนเรียงตัวไมเปนระเบียบเรียกวา อสัณฐาน (Amorphous) สารละลาย

                        ซึมผานไดงาย จึงเรียกวา Accessible region เซลลูโลสสวนนี้จะดูดซับน้ําไดงาย ทําใหเยื่อ
                        กระดาษบวมพอง และเปนสวนที่ใหความยืดหยุน (Flexibility) กับเยื่อกระดาษและกระดาษ


                   3.1.2  เฮมิเซลลูโลส (Hemicellulose)

                   ในเซลลเนื้อไมทั่วไปเฮมิเซลลูโลสจะแทรกอยูระหวางเสนใยเซลลูโลส ทําหนาที่ยึดเซลลูโลสไว
                   ดวยกันและใหความแข็งแรงกับเสนใยดวย เรียกเฮมิเซลลูโลสและเซลลูโลสรวมกันวา โฮโลเซลลูโลส

                   (Holocellulose) องคประกอบหลักของเฮมิเซลลูโลส ไดแก ไซโลส (D-xylose) ซึ่งเปนน้ําตาลเพน
                   โตส (Pentose sugar); แมนโนส (D-mannose) เปนน้ําตาลเฮกโซส (Hexose sugar) นอกจากนี้ยัง

                   มีน้ําตาลอื่นๆ ไดแก กลูโคส (D-glucose) กาแลคโตส (D-galactose) และอะราบิโนส (L-arabinose)
                   ตารางที่ 1-1 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางเซลลูโลสกับเฮมิเซลลูโลส


                   ตารางที่ 1-1 ความแตกตางระหวางเซลลูโลสกับเฮมิเซลลูโลส

                    หัวขอ                       เซลลูโลส                     เฮมิเซลลูโลส
                    ลักษณะ                       เสนใย (Fibrous)             ไมเปนเสนใย (Non fibrous)

                    โครงสราง                    เชิงเสน (Linear)            กิ่ง (Branch)
                    DP                           หลายพันหนวย                 150  30
                    ปฏิกิริยากับกรดเจือจาง       ทําปฏิกิริยาชาๆ             ไฮโดรไลสทันที
                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                    การละลายในดาง               ไมละลาย                     ละลาย

                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right



                   เฮมิเซลลูโลสมีผลตอคุณสมบัติของเยื่อกระดาษ ดังนี้

                   (1)  การดูดน้ํา เนื่องจากเฮมิเซลลูโลสมีโครงสรางเปนอสัณฐาน จึงสามารถดูดน้ําไดดีทําใหเยื่อ
                        บวมพองงายในระหวางขั้นตอนการตีเยื่อ และทําใหเยื่อมีความยืดหยุนมากขึ้น
                   (2)  ความแข็งแรง เนื่องจากเฮมิเซลลูโลสทําหนาที่ชวยยึดเซลลูโลสไวดวยกัน จึงเพิ่มความ


                        แข็งแรงใหเสนใย โดยเฉพาะแมนแนน (Mannan) ซึ่งเปนน้ําตาลโมเลกุลคูระหวางกลูโคสกับ
                        แมนโนส จะทําใหคาความตานทานแรงดึง (Tensile strength) ของเสนใยสูงขึ้น แมนแนนเปน

                        เฮมิเซลลูโลสที่พบมากในไมเนื้อออน ดังนั้นกระดาษที่ทําจากไมเนื้อออนจึงมีความแข็งแรงสูง

                   (3)  ความขาวสวาง (Brightness) เฮมิเซลลูโลสจะทําใหความขาวสวางของเยื่อกระดาษลดลง
                        ระหวางการเก็บ แมจะผานการฟอกสีแลว






                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21