Page 18 -
P. 18

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                   6


                   4.1.2  ไมเนื้อแข็ง (Hard wood)

                   ไมเนื้อแข็ง (Hard wood) จะเปนไมที่มีเสนใยสั้น (ประมาณ 1-1.5 มิลลิเมตร) สวนใหญเปนไมผลัด
                   ใบในฤดูใบไมรวง (Deciduous tree) เชน มณฑา จําปา แอสเพน เมเปล ยูคาลิปตัส เปนตน เยื่อ
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   กระดาษที่ไดจากไมเนื้อแข็งจะมีความแข็งแรงต่ํากวาเยื่อของไมเนื้อออน แตมีขอดีที่ปริมาณลิกนินมี
                   นอยกวา (ตารางที่ 1-2) เยื่อที่ไดจึงมีสีออนกวาดวย


                   ตารางที่ 1-2 องคประกอบทางเคมีของไมเนื้อแข็งและไมเนื้อออน

                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                    องคประกอบ                                              ไมเนื้อแข็ง     ไมเนื้อออน
                    เซลลูโลส                                                 40-50%           40-45%

                    ลิกนิน                                                   20-25%           25-35%
                    เฮมิเซลลูโลส                                             25-35%           25-30%

                       - กลูโคโรโนไซแลน (Glucoronoxylan)                       มาก              นอย
                       - กลูโคโรโนอะราบิโนไซแลน (Glucoronoarabinoxylan)      นอยมาก       นอย-ปานกลาง

                       - กลูโคแมนแนน (Glucomannan)                             นอย             มาก
                       - กาแลคโตกลูโคแมนแนน (Galactoglucomannan)             นอยมาก       นอย-ปานกลาง

                       - อะราบิโนกาแลคแตน (Arabinogalactan)                    นอย           นอยมาก
                   ที่มา: Cassey (1979)




                   4.2  ไมลมลุก (Non wood)

                   ไมลมลุกที่นํามาใชในอุตสาหกรรมกระดาษที่สําคัญ เชน ฝาย ลินิน ปอ ปาน ไผ ฟางขาว ชานออย
                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                   เปนตน มีขอดีที่ระยะเวลาปลูกสั้นกวาไมยืนตน แตตองเก็บเกี่ยวตามฤดูกาลทําใหปริมาณวัตถุดิบไม
                   แนนอน นอกจากนี้ยังมีปริมาณสารที่ไมใชเซลลูโลสสูงทําใหสิ้นเปลืองสารเคมี

                   (1)  ฝาย ใชในอุตสาหกรรมกระดาษนอย สวนใหญใชสําหรับผลิตกระดาษชนิดพิเศษ เนื่องจาก


                        ปริมาณวัตถุดิบจํากัดและราคาสูง จึงมักใชเศษฝายที่เหลือจากอุตสาหกรรมสิ่งทอ เสนใยฝาย
                        เปนเซลลูโลสคอนขางบริสุทธิ์ เสนใยยาวมาก 2-3 เซนติเมตร เมื่อผานกระบวนการตีเยื่อ

                        (Beating) จะมีความยาวลดลงเหลือ 5-6 มิลลิเมตร มีลักษณะเปนทรงกระบอกมีลูเมนส
                        (Lumens) ขนาดใหญ เมื่อทําใหแหงจะหดตัวเปนทรงดัมบเบล (Dumbbell) และพันเปน
                        เกลียวตามความยาว จึงเหมาะสําหรับทํากระดาษทึบแสง


                   (2)  ปุยสั้นของฝาย (Cotton linter) เปนเสนใยสั้นๆ (นอยกวา 5 มิลลิเมตร) ที่หุมเมล็ดฝาย เปน
                        สวนที่เหลือหลังจากแยกเสนใยฝายออกไปแลว ลักษณะเสนใยกลมและแข็งกระดาง กอน

                        นําไปทํากระดาษจึงตองผานกระบวนการตีเยื่อที่มากกวาปกติ เพื่อเพิ่มแรงยึดเกาะ

                        (Cohesion) ระหวางเสนใย เหมาะสําหรับผลิตกระดาษที่ตองการความกระดาง (แข็งและ
                        เหนียว) และทนทานตอการพับไดดี (Folding endurance)






                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23