Page 21 -
P. 21

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                                                                                                        9


                   5.1.1  กลไกการสกัดเยื่อกระดาษดวยวิธีทางกล

                   ในระหวางการบดไมดวยลูกกลิ้งบดหรือแผนบดเพื่อผลิตเยื่อกระดาษ ไมใชเปนเพียงการใชแรงกลใน
                   การขูด ตัด หรือ ฉีก เนื้อไมแลวแยกเยื่อออกมา แตมีกลไก (Mechanism) ของการสกัดที่เกิดขึ้นใน
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   บริเวณที่ไมถูกบด หรือ Grinding zone อยางตอเนื่อง ดังนี้
                   (1)  เมื่อฟน (Grit) ของลูกกลิ้งหรือแผนบดกดจิกลงในเนื้อไม จะทําใหเกิดแรงเสียดทาน (Friction)

                        จากสาเหตุ 3 สาเหตุ คือ
                        ก)  การยุบตัวของเนื้อไม หรือ Deformation

                        ข)  แรงเสียดทานระหวางไมกับลูกกลิ้ง
                        ค)  ของเหลวในเซลลพืชถูกกดอัด

                   (2)  แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นนี้ทําใหเกิดความรอนสูงในบริเวณ Grinding zone และทําใหลิกนินออน
                        ตัวจนสามารถแยกเสนใยออกมาไดงายขึ้น ประกอบกับน้ําที่ใชหลอบริเวณ Grinding zone นี้

                        บางสวนจะกลายเปนไอน้ําซึ่งมีแรงดันสูง จึงชวยแยกเสนใยออกมาอีกทางหนึ่งดวย
                   (3)  แรงกดบนเนื้อไมจะบีบของเหลวในเซลลพืชออกมา ซึ่งรวมตัวยึด (Binding agent) ชนิดตางๆ

                        ดวย ทําใหเสนใยแยกออกมาไดงายขึ้น


                   จากปรากฏการณที่เกิดในบริเวณบดไมนี้ ทําใหทราบวาปจจัยที่ควบคุมคุณภาพเยื่อกระดาษนี้ ไดแก
                   (1)  ปริมาณน้ําที่หลอบริเวณบด ตองควบคุมใหเพียงพอปองกันเยื่อไหมหรือมีสีเขม และตองไม

                        มากเกินเพราะจะทําใหแรงดันไอน้ําที่ไดลดลงไมเพียงพอสําหรับสกัดเยื่อออกมา นอกจากนี้
                        การใชน้ํามากเกินยังทําใหปริมาณน้ําเสียเพิ่มขึ้นและเพิ่มคาใชจายในการบําบัดน้ําเสียดวย

                   (2)  ขนาดของฟนลูกกลิ้งบด โดยทั่วไปฟนขนาดใหญจะไดเยื่อหยาบ เนื่องจากเนื้อไมจะถูกตะกุย
                        ออกมาเปนชิ้นๆ ตองนําไปบดอีก แตถาฟนละเอียดจะไดเยื่อหักสั้นๆ หรือเยื่อปน
                   (3)  ความดันบริเวณบด (Grinding pressure) ขึ้นกับแรงกดของลูกกลิ้งบนเนื้อไมซึ่งมีผลตอความ
                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                        รอนที่เกิดขึ้นดวย โดยทั่วไปความดันสูงจะใหเยื่อที่มีคุณภาพดีแตสิ้นเปลืองพลังงานเพิ่มขึ้น

                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right

                   5.1.2  ขั้นตอนการสกัดเยื่อทางกล

                   เมื่อปอนวัตถุดิบเขาเครื่องจักร ตองฉีดน้ําหลอผิวลูกกลิ้งตลอดเวลาเพื่อควบคุมอุณหภูมิบริเวณบด
                   อุณหภูมิที่เหมาะสมอยูในชวง 180-190 องศาเซลเซียส การสกัดเยื่อเปนกระบวนการที่ใชน้ําปริมาณ
                   สูงมาก (ประมาณ 20-60 ลูกบาศกเมตรตอตันเยื่อ) จึงมักถูกตั้งคําถามถึงภาระสิ่งแวดลอมที่เกิดจาก

                   การผลิตกระดาษ ดวยเหตุนี้จึงมีการสงเสริมใหนํากระดาษใชแลวมาผลิตเยื่อกระดาษ นอกจากชวย


                   ลดการตัดตนไมแลวยังใชน้ําและพลังงานนอยลงมาก


                   เยื่อที่ไดจะผสมในน้ําเรียกวา น้ําเยื่อ (Slurry) ซึ่งยังมีเศษไมเปนชิ้นปะปนอยู ตองผานตะแกรงแยก
                   และนําไปบดอีกครั้ง การแยกขนาดเยื่ออาจใชตะแกรงขนาดตางๆ ขึ้นกับกระดาษที่ตองการผลิต
                   เมื่อแยกเยื่อไดตามตองการแลวจะนําน้ําเยื่อเขากระบวนการเตรียมเยื่อตอไป








                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26