Page 29 -
P. 29

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                                                                                                       17


                   การมีอนุมูลซัลเฟอรใน Cooking liquor ทําใหการกําจัดลิกนิน (Delignification) มีประสิทธิภาพสูง

                   และรวดเร็วจึงใชเวลาการตมเยื่อสั้นลง เยื่อที่ไดมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้นตามคา Sulfidity ใน Cooking
                   liquor โดยทั่วไปใชคา Sulfidity รอยละ 20 ถาใชคาสูงกวานี้มักมีปญหากลิ่นเหม็นของสารประกอบ
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   ซัลเฟอรและการจัดการของเสียมีคาใชจายสูงขึ้นดวย



                   คุณลักษณะเดนของเยื่อซัลเฟต มีดังนี้
                   (1)  เยื่อมีปริมาณเซลลูโลสสูง ทําใหเยื่อมีความแข็งแรงสูง ทั้งนี้ความแข็งแรงของเยื่อจะขึ้นกับ

                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                        ชนิดของไม อุณหภูมิและเวลาตมเยื่อ และปริมาณลิกนินที่หลงเหลือ
                   (2)  ความแข็งแรงของเยื่อจะขึ้นกับความยาวของเยื่อ ไมเนื้อแข็งจะใหเยื่อสั้นกวาและแข็งแรงนอย

                        กวาไมเนื้อออน
                   (3)  ผลไดของการสกัดเยื่อสูง (ประมาณรอยละ 54-57) จะทําใหเยื่อแข็งแรงนอยลง เนื่องจาก

                        ลิกนินยังหลงเหลือในเยื่อสูง แตมีความกระดางสูง จึงเหมาะใชผลิตกระดาษแผนเรียบของ
                        กระดาษลูกฟูก


                   Liquor ที่เกี่ยวของในกระบวนการซัลเฟต มีดังนี้

                   (1)  White liquor หมายถึง สารละลายที่ใชสกัดเยื่อ ไดจาก Green liquor ที่ผานขั้นตอน
                        Causticizing แลว และพรอมนําไปใชสกัดเยื่อ

                   (2)  Green liquor หมายถึง สารละลายที่เตรียมไดจากสารเคมีที่ไดจากการ Recovery นําไป
                        ละลายในน้ําหรือดาง ซึ่งจะนําไปผานขั้นตอน Causticizing ตอไป

                   (3)  Black liquor หรือ Spent liquor หมายถึง สารละลายที่ใชตมไมเสร็จเรียบรอยแลวและแยกเยื่อ
                        ที่ไดออกไป


                   ใน Black liquor หลังจากที่ใชตมเยื่อแลวยังมีสารเคมีหลงเหลืออยูมาก รวมทั้งสารอินทรียในเนื้อไม

                   ที่ละลายออกมาปะปนซึ่งบางชนิดมีมูลคาสูง ขั้นตอนการแยกสารเคมีและสารอินทรียเหลานี้ออกมา

                   จาก Black liquor เพื่อนํากลับมาใชประโยชน เรียกวา Recovery เปนขั้นตอนสําคัญในกระบวนการ

                   สกัดเยื่อทั้งกระบวนการซัลไฟตและซัลเฟตเพราะมีผลเกี่ยวของทั้งตนทุนการผลิตและสิ่งแวดลอม
                   ขั้นตอน Recovery ของกระบวนการซัลเฟตมีวัตถุประสงคดังนี้
                   (1)  เพื่อแยกสารอินทรียที่มาจากเนื้อไมนําไปใชประโยชน และเปนการลดมลภาวะในน้ําเสีย

                   (2)  ผลิตพลังงาน


                   (3)  เพื่อผลิตโซเดียมไฮดรอกไซดกลับมาใชอีก
                   (4)  เพื่อเปลี่ยนสารประกอบซัลเฟอรใน Black liquor ที่ใชแลวใหเปนโซเดียมซัลไฟดกลับมาใชอีก

                        ในการเตรียม Liquor

                                           copy right       copy right    copy right    copy right








                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34