Page 30 -
P. 30

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                   18


                   ขั้นตอน Recovery ของ Black liquor มีดังนี้

                   (1)  นํา Black liquor ไปผานเครื่องระเหยน้ํา (Evaporator) เพื่อเพิ่มความเขมขนจนถึงประมาณ
                        รอยละ 60 หรือสูงกวา ซึ่งจะชวยกําจัดกลิ่นสารประกอบซัลเฟอรออกไปบางสวน โดยเฉพาะ
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                        ไฮโดรเจนซัลไฟด (H 2S)
                   (2)  เติมโซเดียมซัลเฟตใน Black liquor เขมขนที่ไดจากขอ (1) นําไปเผาในเตาเผา (Furnace)

                        จนกลายเปนเถาเรียกวา Smelt ซึ่งประกอบดวยโซเดียมซัลไฟดและโซเดียมคารบอเนต
                   (3)  นํา Smelt ไปละลายในน้ําหรือดางออน สารละลายที่ไดเรียกวา Green liquor

                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   (4)  เติมแคลเซียมไฮดรอกไซดใน Green liquor จะทําปฏิกิริยากับโซเดียมคารบอเนต และได
                        โซเดียมไฮดรอกไซด เรียกปฏิกิริยานี้วา Causticizing ดังแสดงขางทายนี้ และสารละลายที่ได

                        เรียกวา White liquor พรอมนําไปเติมในหมอตมเพื่อสกัดเยื่อในครั้งใหมตอไป


                                                            
                                     Na 2 CO   Ca (OH ) 2        2NaOH    CaCO
                                             3
                                                                                    3
                                                            
                                                  CaCO  3        CaO   CO
                                                                             2

                   การกําจัดกลิ่นสารประกอบซัลเฟอร
                   สารประกอบซัลเฟอรที่ทําใหเกิดกลิ่นรุนแรงและเปนลักษณะเฉพาะของโรงงานสกัดเยื่อกระดาษดวย

                   กระบวนการซัลเฟต ไดแก

                                ไฮโดรเจนซัลไฟด (H 2S)
                                เมทิลเมอรแคปเทน (Methyl mercaptan CH 3-S-H)

                                ไดเมทิลซัลไฟด (Dimethyl sulfide CH 3-S-CH 3)
                                ไดเมทิลไดซัลไฟด (Dimethyl disulfide CH 3-S-S-CH 3)
                                           copy right       copy right    copy right    copy right


                   การลดปญหากลิ่นสารประกอบซัลเฟอรเหลานี้จะใชวิธี


                                การทําปฏิกิริยากับคลอรีน (Chlorination) ในสภาพกาซ
                                การเผาเพื่อเปลี่ยนซัลเฟอรเปนซัลเฟอรไดออกไซด วิธีนี้ยังไดความรอนกลับมาใช

                                 อีกดวย

                     ผลผลิตพลอยได (By-product) จากการ Recovery ของ Black liquor



                   (1)  แอลคาไลนลิกนิน (Alkaline lignin) ใน Black liquor จะมีลิกนินละลายอยูมากซึ่งสามารถแยก
                        ออกจาก Liquor โดยการลดพีเอชของ Liquor ลงใหต่ํากวา 9 จะไดเกลือกรดลิกนิน (Lignin

                        acid salt) ตกตะกอนแยกออกมา นําตะกอนที่ไดมาทําปฏิกิริยากับกรดซัลฟวริกอีกครั้งจะได

                        ลิกนิน การใชประโยชนลิกนินในทางอุตสาหกรรม ไดแก








                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35