Page 33 -
P. 33

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                                                                                                       21




                   ระหวางการฟอกสีดวยไฮโดรเจนเปอรออกไซด คาพีเอชของน้ําเยื่อจะคอยๆ ลดลง ซึ่งทําให
                   ประสิทธิภาพการฟอกสีลดลงดวย จึงตองเติมดางควบคุมพีเอชใหอยูในชวง 10-11 ในทางตรงกัน
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   ขามการใชโซเดียมเปอรออกไซดตองเติมกรดซัลฟวริกเพื่อควบคุมพีเอช บางโรงงานจึงใชทั้ง

                   ไฮโดรเจนเปอรออกไซดและโซเดียมเปอรออกไซดรวมกัน เพื่อใหปรับพีเอชซึ่งกันและกัน


                   สารเปอรออกไซดสลายตัวงายและรวดเร็วมาก จึงตองเติมสาร Chelating agent เชน EDTA, ไตร
                   พอลิฟอสเฟต เปนตน และอาจเติมคลอรีน ไฮโปคลอไรต (Hypochlorite) หรือแคลเซียมคลอไรด
                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   เพื่อชวยเสริมประสิทธิภาพการจับอนุมูลโลหะของ Chelating agent


                   การฟอกสีดวยสารเปอรออกไซด ตองทําใหน้ําเยื่อมีเยื่อประมาณรอยละ 10-20 ปริมาณสารฟอกสีที่
                   ใชประมาณรอยละ 3-10 ความขาวสวางของเยื่อจะเพิ่มขึ้นตามความเขมขนของเปอรออกไซดที่ใช

                   และอาจสูงถึงรอยละ 80 แตไมควรใชสารเปอรออกไซดมากเกินไปเนื่องจากสิ้นเปลืองและเพิ่มตนทุน

                   การฟอกสีทําที่อุณหภูมิ 40-60 องศาเซลเซียส นาน 1-3 ชั่วโมง การใชเวลานานกวานี้ไมไดชวยให
                   เยื่อขาวสวางเพิ่มขึ้นเทาใดนัก


                   6.2  การฟอกสีและกําจัดลิกนิน (Bleaching and delignification)

                   การฟอกสีโดยกําจัดลิกนินออกไปดวย เปนวิธีที่นิยมใชกับเยื่อเคมีซึ่งมีลิกนินหลงเหลืออยูไมมาก
                   แตลิกนินเหลานี้มีคาการดูดกลืนแสง (Light absorbance) สูง ความขาวสวางจึงต่ํา โดยทั่วไปการ

                   สกัดเยื่อกระดาษดวยวิธีทางเคมี จะกําจัดลิกนินสวนใหญออกไปแตไมทั้งหมด เพราะหากตองการ
                   กําจัดลิกนินออกไปทั้งหมดจะตองใชเวลาสกัดเยื่อใน Cooking liquor นานมาก ทั้งนี้สารเคมีใน
                   Cooking liquor สามารถทําลายเซลลูโลสได การสกัดเยื่อยิ่งนานจะยิ่งทําใหเซลลูโลสถูกทําลายมาก
                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                   ขึ้น ดังนั้นการกําจัดลิกนินสวนที่หลงเหลือเพื่อทําใหเยื่อสีคล้ําขาวสวางขึ้นนี้จึงใชการฟอกสีเขามา

                   เสริม แมวาสารเคมีที่ใชฟอกสีก็สามารถทําลายเซลลูโลสไดแตความรุนแรงนอยกวา



                   หลักการการฟอกสีและกําจัดลิกนินนี้จะใชสารออกซิไดสทําปฏิกิริยากับลิกนินในสภาพที่เปนกรด
                   เพื่อเปลี่ยนลิกนินเปนสารประกอบออกซิไดสซึ่งละลายไดดีในดาง ดังนั้นการฟอกสีและกําจัดลิกนินนี้
                   จึงมักเปนกระบวนการหลายขั้นตอน (Multistage bleaching) ยกเวนสารฟอกสีบางชนิดที่สามารถ

                   เปลี่ยนลิกนินเปนสารประกอบออกซิไดสในสภาพดางได จะสามารถฟอกสีไดในขั้นตอนเดียว เชน


                   การฟอกสีดวยไฮโปคลอไรต และเปอรออกไซด เปนตน กระบวนการฟอกสีและสารเคมีที่ใช มีดังนี้


                   6.2.1  คลอริเนชัน (Chlorination)
                   คลอรีนเปนสารฟอกเยื่อกระดาษที่ใชมานานแลว คลอรีนจะทําปฏิกิริยากับลิกนินไดเปนสารประกอบ
                   ที่ละลายไดดีในดาง ดังนั้นการฟอกสีดวยคลอรีนจึงตองตามดวยขั้นตอนการสกัดดวยดาง หรือ








                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38