Page 28 -
P. 28

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                   16


                   (4)  โซเดียมเบส ใชโซเดียมซัลไฟตหรือโซเดียมไบซัลไฟตซึ่งละลายน้ําไดดีมาก ทําใหไมมีปญหา

                        การเกิดตะกรันและมีขอดีคลายการใชแอมโมเนียมเบส นอกจากนี้ยังสามารถใชกับ Liquor ที่
                        เปนกรดและดาง แตมีปญหาการดึงสารเคมีจาก Spent liquor กลับมาใชใหมยุงยาก
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right


                   คุณลักษณะเดนของเยื่อซัลไฟต มีดังนี้

                   (1)  คุณสมบัติเชิงแสง (Optical properties) โดยทั่วไปเยื่อซัลไฟตแมจะไมฟอกสีมีความขาวสวาง
                        (Brightness) สูงเพียงพอที่จะใชผลิตกระดาษพิมพเขียนที่ไมตองการเก็บไวใชงานนานๆ ได

                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                        โดยเฉพาะเยื่อที่ไดจากกระบวนการไบซัลไฟตจะมีความขาวสวางสูงกวากระบวนการอื่น
                        นอกจากนี้หากตองการเยื่อซัลไฟตที่ขาวสวางสูงขึ้น ก็สามารถฟอกสีไดงาย

                   (2)  ความแข็งแรง โดยทั่วไปเยื่อซัลไฟตจะมีความแข็งแรงนอยกวาเยื่อซัลเฟต แตเยื่อไบซัลไฟตที่
                        ควบคุมผลไดประมาณรอยละ 60-65 หรือต่ํากวา มีความแข็งแรงที่เกี่ยวของกับการยึดติดกัน

                        (Bonding strength) สูงขึ้นเมื่อผลไดลดลง เชน ความตานทานแรงดึง (Tensile strength)
                        ความตานทานแรงดันทะลุ (Bursting strength) และความตานทานแรงฉีก (Tear strength)

                        จึงเหมาะสําหรับการผลิตกระดาษที่ตองการความแข็งแรงปานกลาง-สูง


                   5.3.2  กระบวนการซัลเฟต (Sulfate process) หรือ กระบวนการคราฟท (Kraft process)
                   กระบวนการซัลเฟตเปนกระบวนการที่ใชดางเปนสารเคมีหลัก ประกอบดวยโซเดียมไฮดรอกไซด

                   และโซเดียมซัลไฟด (NaOH และ Na 2S) สาเหตุที่เรียกชื่อวากระบวนการซัลเฟต แทนที่จะเรียก
                   กระบวนการซัลไฟต เนื่องจาก Cooking liquor เตรียมจากโซเดียมซัลเฟต เมื่อทําปฏิกิริยาจะให

                   โซเดียมซัลไฟด ซึ่งเปนสารเคมีหลักที่ทําหนากําจัดลิกนิน นอกจากนี้เยื่อที่ไดมีความแข็งแรงสูง จึง
                   นิยมเรียกกระบวนการนี้อีกชื่อวา Kraft ซึ่งเปนภาษาสวีเดนแปลวาแข็งแรง สารเคมีใน Cooking
                   liquor ประกอบดวย โซเดียมซัลเฟต โซเดียมไฮดรอกไซด และโซเดียมคารบอเนต



                   โซเดียมซัลไฟดจะแตกตัวใหไอออนซัลเฟอร (S ) ซึ่งสามารถปฏิกิริยากับลิกนินอยางรวดเร็ว ทําให
                                                            

                   ลดเวลาในการตมเยื่อ ลิกนินซัลโฟเนตที่ไดจากปฏิกิริยาจะถูกไฮโดรไลสตอไปและจับกับอนุมูล
                   โซเดียมไดเปนเกลือโซเดียมที่ละลายไดงายใน Cooking liquor ประสิทธิภาพในการกําจัดลิกนินจึง

                   ขึ้นกับปริมาณไอออนซัลเฟอรใน Cooking liquor ซึ่งแสดงเปนคา Sulfidity ดังนี้

                                                          Na  S

                                           Sulfidity        2        100
                                                      Active  alkaline


                                            Active  alkaline   NaOH   Na 2 S

                                           copy right       copy right    copy right    copy right








                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33