Page 27 -
P. 27

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                                                                                                       15


                                                  S           SO
                                                          
                                                                    2
                                                           
                                             SO   H  2 O        H 2 SO
                                                2
                                                                        3
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                                                                            
                                                H 2 SO 3             HSO
                                                           H
                                                                            3
                                                                         2
                                                                          
                                                          H
                                                HSO  3              SO
                                                                         3
                                                                           
                                                           H
                                                  H 2 O              OH
                                                       
                   การสกัดเยื่อเริ่มดวยอนุมูลซัลไฟต H 2SO 3  ทําปฏิกิริยากับลิกนิน ไดเปนกรดลิกนินซัลโฟนิก
                                                                                                      +
                   (Lignin sulfonic acid) ซึ่งยังไมสามารถละลายใน Liquor แตเมื่อถูกไฮโดรไลสดวยอนุมูลกรด (H )
                   จะทําใหพันธะระหวางโมเลกุลลิกนินหรือพันธะระหวางลิกนินกับคารโบไฮเดรตหลุดออก กลายเปน

                   ลิกนินซัลโฟเนต (Lignin sulfonate) ซึ่งจะละลายใน Liquor ได เมื่อการตมเยื่อแลวเสร็จจะกรองแยก
                   เยื่อออกจาก Liquor และเรียกวา Liquor ที่แยกออกมานี้วา Black liquor หรือ Spent liquor ซึ่งจะมี

                   สารอินทรียจากไมละลายปะปนอยูปริมาณมากและสามารถนําไปผานกระบวนการนําสารเหลานี้
                   กลับมาใชประโยชนไดอีก เรียกกระบวนการนี้วา Recovery


                                                                                             
                   ในระหวางการตมไม ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นนั้นจะทําใหกรดซัลฟวรัสและอนุมูล H 2SO 3  คอยๆ
                   ลดลง ในขณะที่กรดลิกนินซัลโฟนิกซึ่งเปนกรดแก (หรือ Strong ionized acid) เพิ่มขึ้น ภายใต

                   สภาวะการตมในสารละลายกรดแกและอุณหภูมิสูงจะเกิดการควบรวมตัวกัน (Polycondensation)
                   ของลิกนินทําใหการละลายลดลง และเยื่อจะมีสีเขม เรียกวา Burnt cook การแกไขปญหานี้จะเติม

                   เบสใน Cooking liquor เพื่อควบคุมพีเอชไมใหต่ําเกิน การเลือกเบสขึ้นกับผลได คุณภาพเยื่อ และ
                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                   ความยากงายในการจัดการและการนําสารเคมีกลับมาใชใหม เบสที่ใชทั่วไป เชน
                   (1)  แคลเซียมเบส ใชแคลเซียมไฮดรอกไซด (Ca(OH) 2) หรือ โดโลไมต (CaMg(CO 3) 2) เหมาะ

                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                        สําหรับกระบวนการซัลไฟตสภาพกรด แตไมนิยมใชกับกระบวนการไบซัลไฟต ผลไดของการ

                        ผลิตประมาณรอยละ 43-48 การใชแคลเซียมเบสมีขอดีที่ราคาสารเคมีต่ําและหาไดงาย แตมี
                        ปญหาตะกรันอุดตันเครื่องจักร การดึงสารเคมีจาก Spent liquor กลับมาใชใหมคอนขาง

                        ยุงยาก และสิ้นเปลืองซัลเฟอรไดออกไซด
                   (2)  แมกนีเซียมเบส ใชแมกนีเซียมออกไซด (MgO) เติมใน Liquor ที่เปนไดทั้งกรดและดาง
                        สะดวกในการใชงาน แตในกระบวนการ Recovery จะไมไดสารประกอบซัลเฟอรกลับมา ได


                        แตเพียงซัลเฟอรไดออกไซดและพลังงาน
                   (3)  แอมโมเนียมเบส ใชแอมโนเนีย หรือ แอมโมเนียมไฮดรอกไซด (NH 4OH) มีขอดีคือ

                        แอมโมเนียซึมเขาไมไดเร็ว ทําใหลดเวลาในการทําปฏิกิริยา นอกจากนี้ยังใชกับวัตถุดิบ

                        หลากหลายชนิด ใหผลไดคอนขางสูง แตมีขอเสียที่ไมสามารถดึงแอมโมเนียกลับมาจาก
                        Spent liquor ได ทําใหตนทุนสารเคมีสูงกวาการใชเบสชนิดอื่น






                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32