Page 36 -
P. 36

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
 copy right    copy right    copy right    copy right
                   24


                   7  การเตรียมน้ําเยื่อ (Stock preparation)

                   7.1  การตีเยื่อ (Beating)

                   น้ําเยื่อที่ผานการฟอกสี (ถามี) มาเรียบรอยแลวจะนํามาตีเยื่อดวยแรงเชิงกล เพื่อใหเยื่อแยกออก
     copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                   จากกันดียิ่งขึ้นโดยเฉพาะเยื่อที่สกัดดวยวิธีทางกล และเพื่อทําใหผิวเยื่อแตกเปนขุยเล็กๆ เรียกวา

                   Hairy เพื่อใหการสานกันของเสนใยแนนและแข็งแรงมากขึ้น นอกจากนี้เฮมิเซลลูโลสในเยื่อและ
                   เซลลูโลสบางสวนจะดูดน้ําและทําใหเยื่อบวมพองขึ้น ผิวเยื่อสวนที่บวมพองนี้จะชวยประสานอุด

                   ชองวางในกระดาษทําใหเนื้อกระดาษแนนขึ้นและแข็งแรงขึ้น


                   การตีเยื่อจะชวยเพิ่มคุณสมบัติทางการบรรจุของกระดาษ ไดแก ความตานทานแรงฉีก ความ
                   ตานทานแรงดันทะลุ และความตานทานแรงดึง นอกจากนี้ยังชวยใหการเดินแผนกระดาษสะดวก

                   รวดเร็วขึ้น เพิ่มอัตราการดึงน้ําออกจากแผนกระดาษขณะเปยก ทําใหกําลังการผลิตกระดาษสูงขึ้น


                   7.2  การเติมแตงสารเคมี
                   การตีเยื่อเปนขั้นตอนที่เหมาะสมสําหรับการเติมสารเคมีชนิดตางๆ ที่ใชในการปรับปรุงคุณสมบัติ

                   ของกระดาษ เพราะจะทําใหไดน้ําเยื่อที่มีองคประกอบสม่ําเสมอ สารเติมแตงกระดาษที่สําคัญ ไดแก
                   (1)  ตัวเติม (Filler) สวนใหญเปนสารอนินทรีย วัตถุประสงคของการใชสารนี้เพื่อเพิ่มปริมาณทําให

                        ผลิตไดกระดาษมากขึ้น ชวยลดตนทุนการผลิต นอกจากนี้ยังใชเพื่อเพิ่มความขาว ความเรียบ
                        และการดูดซับหมึกพิมพ สารที่ใช เชน แคลเซียมคารบอเนต ไทเทเนียมไดออกไซด (TiO 2)

                        และไชนาเคลยหรือดินขาวคาโอลิน (China clay or Kaolin) เปนตน
                   (2)  สารกันซึม (Sizing agent) ทําหนาที่ลดการซึมผานของของเหลว เชน น้ํา หมึกพิมพ เปนตน

                        การเติมสารกันซึมในขั้นตอนการตีเยื่อ เรียก Internal sizing ถาพนสารกันซึมเคลือบกระดาษ
                                           copy right       copy right    copy right    copy right
                        ในขั้นตอนทําแหง เรียก External sizing สารกันซึมใชมากในการผลิตกระดาษเขียน (Writing
                        paper) และกระดาษเพื่อการบรรจุ สารกันซึมที่นิยมใชกันมาก เชน โรซิน (Rosin) ไข (Wax)

                        copy right    copy right    copy right    copy right    copy right    copy right
                        เจลาติน (Gelatin) และเรซินสังเคราะห (Synthetic resin) เปนตน อนึ่งการเติมสารกันซึมมีผล

                        ทําใหความแข็งแรงของกระดาษลดลงดวย
                   (3)  ตัวยึด (Binder) ทําหนาที่เพิ่มความแข็งแรงใหกระดาษ เชน ความทนทานตอแรงดึง (Tensile

                        strength) ความทนทานแรงดันทะลุ (Bursting strength) และความทนทานตอการพับ
                        (Folding endurance) เปนตน สารที่ใชเปนตัวยึด เชน แปง แปงดัดแปร (Modified starch)
                        กัมจากพืช (Vegetable gum) ยาง และเรซินสังเคราะห เปนตน


                   (4)  สารเพิ่มความแข็งแรงขณะเปยก (Wet strength agents) ทําใหกระดาษไมฉีกขาดงายเมื่อ
                        สัมผัสของเหลว สารที่นิยมใช ไดแก ไกลออกซอล (Glyoxal) ไกลออกซาเลตเต็ดพอลิอะคริล

                        แอไมด (Glyoxalated polyacrylamide) ยูเรียฟอรมาลดีไฮด (Urea formaldehyde) เมลามีน

                        ฟอรมาลดีไฮด (Melamine formaldehyde) และเรซินประเภทพอลิแอไมดเอพิคลอโรไฮดริน
                        (Polyamide-epichlorohydrin resin) เปนตน






                                                              copy right    copy right    copy right    copy right
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41