Page 99 -
P. 99

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               90                                                                            บทที่ 4





               จะเห็นวาชวงหลังจากการเกิดโมเลกุลเชิงซอนนี้ไมใชขั้นตอนมูลฐานแบบโมเลกุลคู   แตเปนการ
               แตกตัวของขั้นตอนมูลฐานแบบโมเลกุลเดี่ยว  ในกรณีเชนนี้มักจะไมสามารถบอกขอบเขตของแต

               ละขั้นตอนอยางชัดเจน




               4.3  ปฏิกิริยามูลฐานแบบสามโมเลกุล  (Elementary Termolecular or


                     Trimolecular Reaction)



                       ปฏิกิริยาการรวมตัวระหวางสองอะตอมในสภาวะแกส  เชน 2A  หรือ A+B  มักจะไม
               สามารถรวมตัวกันเปนโมเลกุลอะตอมคู  เนื่องจากพลังงานที่คายออกมาจากการสรางพันธะในการ

               เกิดพันธะใหม  จะใชในการสลายพันธะใหแยกออกจากกันตามเดิม  ดังนั้นปฏิกิริยาการรวมตัว

               ระหวางสองอะตอมจะเกิดขึ้นไดตองอาศัยโมเลกุลหรืออะตอมที่สาม (third body, M)  ในการรับ

               พลังงานที่เกิดขึ้นนั้น ดังกลไกแบบที่ 1 ที่มีขั้นตอนเดียว คือ


               กลไกแบบที่ 1

                                     A  +   A  +   M   ⎯ →⎯       A   +   M                (4.17)
                                                                   2
               หรือ                  A  +   B  +   M   ⎯ →⎯       AB  +   M                (4.18)

               สมการ (4.17) หรือ (4.18) แสดงวาปฏิกิริยารวมตัวของอะตอมคูในสภาวะแกสเปนปฏิกิริยาอันดับ
               สาม



                       อยางไรก็ตามมีการเสนอกลไกอีกแบบหนึ่ง  เพื่อหลีกเลี่ยงการชนกันของสามโมเลกุลใน

               เวลาเดียวกันซึ่งเกิดขึ้นไดยาก และเพื่ออธิบายพลังงานกระตุนที่อาจมีคาเปนลบได โดยที่กลไกแบบ
               ที่ 2 มี 2 ขั้นตอน คือ

               กลไกแบบที่ 2

                                            A   +   M        k k 1   AM                    (4.19)

                                                           -1
                                                          k
                                           AM  +  A     ⎯⎯⎯ → A  +  M                      (4.20)
                                                           2
                                                                   2
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104