Page 100 -
P. 100
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
กลไกของปฏิกิริยามูลฐานของแกส 91
เมื่อ M คือ โมเลกุลหรืออะตอมที่สาม (third body, M) M อาจเปนโมเลกุลที่มีหลายอะตอม
(polyatomic molecule) เชน M ที่ใชในปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 300 K ควรเปนโมเลกุลที่มีสามหรือสี่
อะตอม สวนที่อุณหภูมิสูงกวา 1000 K ตัวรับพลังงาน M ควรเปนโมเลกุลที่มีหา-เจ็ดอะตอม เปน
ตน
d [A ]
โดยมีกฎอัตราดังนี้ 2 = k [AM][A] (4.21)
2
dt
ในการหาความเขมขนของ AM ที่เปนสารมัธยันตร โดยใชระเบียบวิธีประมาณสภาวะคงตัว
(steady-state approximation method) และใชกฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียลของการเปลี่ยนแปลงความ
เขมขนของ AM ทําให
d [AM]
= k [A][M] – k [AM] – k [AM][A] ~ 0 (4.22)
-1
1
2
dt
.
. . [AM] ~ k 1 [A] [M] (4.23)
k + k 2 [A]
1 -
แทนคาสมการ (4.23) ในสมการ (4.21) จะได
d [A 2 ] k 1 k 2 [A] 2 [M]
= (4.24)
dt k + k 2 [A]
1 -
สมการ (4.24) แสดงวาปฏิกิริยาการรวมตัวระหวางสองอะตอมและโมเลกุลที่สามในกลไกแบบที่ 2
เปนปฏิกิริยาอันดับสาม