Page 104 -
P. 104

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                       การเรงปฏิกิริยาแบบเอกพันธุ                                                     95





                              ตัวอยางปฏิกิริยาการสลายสาร A เปนสาร P จะใชเวลานานมากเมื่อไมมีตัวเรงปฏิกิริยา ดัง
                       สมการตอไปนี้

                                                       A     ⎯ slow, ⎯ k unc  P                   (5.3)
                                                                ⎯
                                                              ⎯
                                                                    ⎯
                                                                     ⎯→
                       โดยมีกฎอัตราดังนี้                R unc    =      k  [A]                   (5.4)
                                                                          unc
                       เมื่อ R  =  อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ไมมีตัวเรง (uncatalyzed rate)
                             unc
                            k  =  คาคงที่อัตราของปฏิกิริยาที่ไมมีตัวเรง (uncatalyzed rate constant)
                             unc
                            [A] = ความเขมขนของสารตั้งตน A



                              ในกรณีที่มีตัวเรงปฏิกิริยา (C)  จะเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น  และอาจเขียนปฏิกิริยาสุทธิที่มีตัวเรง

                       แบบเอกพันธุในรูปทั่วไปไดดังนี้

                                                   A  +  C    ⎯ →⎯       P  +  C                  (5.5)
                       ถากลไกที่คาด มี 2 ขั้นตอนคือ
                                                                k
                                                                 c
                                                   A  +  C    ⎯ →⎯       X                        (5.6)
                                                                k
                                                                 '
                                                                  c
                                                        X     ⎯ →⎯       P +  C                   (5.7)

                       และกําหนดใหขั้นตอนแรกในสมการ (5.6) เกิดชากวาขั้นตอนที่สองในสมการ (5.7) จะได
                                                           R c    =      k  [A] [C]               (5.8)
                                                                          c
                       เมื่อ R  =  อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่มีตัวเรง (catalyzed rate)
                             c
                            k  =  คาคงที่อัตราของปฏิกิริยาที่มีตัวเรง (catalyzed rate constant)
                             c
                            [A], [C] = ความเขมขนของสารตั้งตน A และตัวเรงปฏิกิริยา C ตามลําดับ



                              ขอสังเกตปฏิกิริยานี้จะเกิดขึ้นไดแมไมมีตัวเรงปฏิกิริยา  และในกรณีที่มีตัวเรงปฏิกิริยา C

                       จะเกิดปฏิกิริยาทั้งสองแบบ  คือ  ปฏิกิริยาที่ไมมีตัวเรงและปฏิกิริยาที่มีตัวเรงดังสมการ (5.3)  และ
                       (5.5) ตามลําดับ ดังนั้นอัตราการเกิดปฏิกิริยา (R) จึงเปนผลรวมของอัตราเร็วของปฏิกิริยาที่ไมมีและ

                       ที่มีตัวเรงดังสมการ (5.4) และ (5.8) ตามลําดับ คือ
                                                         d[A]
                                            R      = –            = k  [A]  +  k  [A][C]          (5.9)
                                                                                 c
                                                                      unc
                                                          dt
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109