Page 107 -
P. 107
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
98 บทที่ 5
+
ตอจากนั้นหาความเขมขนของ SH ที่เปนสารมัธยันตร จากระเบียบวิธีประมาณสภาวะคง
ตัว (steady-state approximation method) จะได
d [SH + ]
+
+
–
= k [S][HA] – k [SH ] [A ] – k [SH ] ~ 0
1
-1
2
dt
+
ดังนั้น [SH ] = 1 ][ S [ k HA ] (5.21)
k 1 − A [ − ]+ k 2
+
แทนคา [SH ] จากสมการ (5.21) ในสมการ (5.20) จะได
d [P] k k [S] [HA]
R = = 1 2 (5.22)
dt k [A − ]+ k
− 1 2
การพิจารณากฎอัตราในสมการ (5.22) ของกลไกแบบที่ 1 ที่มีกรด HA เปนตัวเรงปฏิกิริยา
อาจเกิดได 2 กรณี (ที่ตรงกับผลการทดลอง) คือ
+
กรณีที่ 1 ถาคาคงที่อัตราในการสลายตัวกลับของสารมัธยันตร (SH ) เปนสารตั้งตน (S) มีคานอย
–
กวาคาคงที่อัตราในการเปลี่ยนสารมัธยันตรเปนผลิตภัณฑ (P) คือ k [A ] << k จะไดกฎอัตรา
2
-1
ดังนี้
d [P]
R = = k [S][HA] (5.23)
1
dt
ในกรณีนี้อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่มีกรดเปนตัวเรงจะแปรตามความเขมขนของสารตั้งตน S และ
ตัวเรงปฏิกิริยา HA
–
กรณีที่ 2 ถา k [A ] >> k จะไดกฎอัตราดังนี้
-1
2
d [P] k 1 k 2 [S] [HA]
R = = (5.24)
dt k 1 - [A − ]
จากการแตกตัวของกรดออน (HA) ซึ่งเปนไปตามสมการ (5.25)
+
HA K a H + A – (5.25)
H [ + A [ ] − ]
โดยมีคาคงที่สมดุลของการแตกตัวของกรดออน K =
a
[ HA ]
[ HA ] H [ + ]
และ = (5.26)
A [ − ] K a