Page 106 -
P. 106

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                       การเรงปฏิกิริยาแบบเอกพันธุ                                                     97





                       (กรณีไมมีตัวเรงปฏิกิริยาจะเกิดชามาก  เนื่องจากเปนการชนของสามโมเลกุลพรอมกัน)  เมื่อมี
                                                           2+
                       ไอออนแมงกานีส (manganese (II) ion, Mn ) เปนตัวเรงปฏิกิริยา จะมีกลไกดังนี้

                                                               slow
                                                4+
                                                                           3+
                                                        2+
                                              Ce   +  Mn      ⎯ →⎯       Ce    +  Mn 3+           (5.15)
                                                        4+
                                                 3+
                                                                           3+
                                              Mn   +  Ce      ⎯ →⎯       Ce    +  Mn 4+           (5.16)
                                                                            2+
                                                 4+
                                              Mn   +  Tl +    ⎯ →⎯       Mn   +   Tl 3+           (5.17)

                       โดยที่แตละขั้นตอนเปนปฏิกิริยามูลฐานแบบโมเลกุลคู  แตจะมีขั้นตอนแรกที่ชากวาขั้นตอนอื่นๆ
                       อยางไรก็ตามสารมัธยันตร (intermediate)  ที่เกิดขึ้นเปนสารไมเสถียร  หรืออาจกลาวไดวาไมมี
                                                                   2+
                                                              2+
                       ไอออนของทาลเลียมและซีเรียมที่เสถียร คือ Tl , Ce ดังนั้นกลไกดังกลาวจึงเกิดไดเร็ว



                       5.3  การเรงปฏิกิริยาโดยกรด-เบส (Acid-base Catalysis)




                              การเรงปฏิกิริยาโดยกรด-เบส  คือ  การทําใหปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นโดยใชกรดหรือเบสหรือทั้ง
                       สองอยางทําหนาที่เปนตัวเรง  ปฏิกิริยาเหลานี้เปนปฏิกิริยาที่นิยมมาก  กรดอาจจะเปนไฮโดรเจน

                                                                          –
                                +
                       ไอออน (H )  หรือเบสอาจจะเปนไฮดรอกไซดไอออน (OH )  ตามนิยามกรด-เบสของอารเรเนียส
                       (Arrhenius’s definition)  หรืออาจเปนกรดหรือเบสในนิยามของเบรินสเตด-ลาวรี (Bronsted-
                       Lowry’s definition)

                              กลไกของปฏิกิริยาที่มีกรด-เบสเปนตัวเรง   จะมีขั้นตอนแรกเปนขั้นตอนที่มีการถายเท

                                 +
                       โปรตอน (H ) จากกรด HA ไปยังสารตั้งตน (substrate, S) ที่เรียกวา โปรโตเนชัน (protonation)
                       ตามกลไกแบบที่ 1  หรือจากสารตั้งตน (SH)  ไปยังเบส BOH  ตามกลไกแบบที่ 2  และตามดวย
                       ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส (hydrolysis) เพื่อใหเกิดผลิตภัณฑ (product, P) ดังแสดงตอไปนี้

                       กลไกแบบที่ 1 เปนกลไกที่มีกรด HA เปนตัวเรงปฏิกิริยา

                                                                            +
                                                   S  +  HA      k 1     SH   +  A –              (5.18)
                                                                 k -1

                                                                 k
                                                    +
                                                  SH  +  H O   ⎯⎯⎯  →  P  +  H O +                (5.19)
                                                                  2
                                                                               3
                                                          2
                                                           d [P]
                                                                               +
                       กฎอัตราของกลไกนี้คือ       R    =            =    k  [SH ]                 (5.20)
                                                                          2
                                                            dt
                       ในที่นี้จะถือวาความเขมขนของน้ํามีคาคงที่เพราะน้ําเปนตัวทําละลาย
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111