Page 83 -
P. 83

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               74                                                                            บทที่ 3





               โดยทั่วไปขั้นเริ่มตนของปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบลูกโซประกอบดวย 2  ขั้นตอน  และมีขั้น
               กําหนดอัตราคือปฏิกิริยาในการเปลี่ยนจากตัวเริ่มตน I  เปนอนุมูลของตัวเริ่มตน  .R  ตามสมการ

               (3.22)

                                                 d  [I]        1     ] R [ d ⋅
               จากสมการ (3.22);      rate  =  –            =           =  k [I]            (3.24)
                                                                              i
                                        i
                                                  dt           2 dt
                                                      ] R [ d ⋅
               ดังนั้น                                     = 2 k [I]                       (3.25)
                                                                 i
                                                   dt
                                                      ] R [ d ⋅  [ d  ] M ⋅
               จากสมการ (3.23) และ (3.25);      –          =             = 2 φ k [I]       (3.26)
                                                                                 i
                                                   dt            dt

               ในที่นี้เพิ่มเทอม φ ในสมการ (3.26) เพื่อเปนตัวกําหนดประสิทธิภาพของขั้นเริ่มตน

               เมื่อ φ = เศษสวนโมล (mole fraction) ของ .R ที่ทําใหเกิดสายโซไดสําเร็จ และมีคาตั้งแต 0 ถึง 1


                                                     k
                                                      p
               ขั้นแพรขยาย          M  +  .M       ⎯ →⎯      .M 2                         (3.27)

                                     M  +  .M 2     ⎯ →⎯      .M 3
                                     ......................................................

                                     ......................................................

                                     M  +  .Mn-1    ⎯ →⎯      .Mn


               โดยถือวาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของขั้นแพรขยายไมขึ้นกับความยาวของสายโซ   ดังนั้นอัตราการ

               เกิดปฏิกิริยาของขั้นตอนตางๆ  ในขั้นแพรขยายอาจเสมือนคิดจากขั้นตอนแรกของขั้นแพรขยายตาม

               สมการ (3.27) คือ
                                                     [ d  ] M ⋅
                                     rate p    =  –           = k [M][.M]                  (3.28)
                                                                   p
                                                     dt
                                                      k
               ขั้นสิ้นสุด           .Mn  +  .Mo    ⎯ →⎯ t    Mn+o                         (3.29)

               ในทํานองเดียวกันอัตราการเกิดปฏิกิริยาของขั้นสิ้นสุดไมขึ้นกับความยาวของสายโซ   ดังนั้นอาจ
               แสดงปฏิกิริยาของขั้นสิ้นสุดไดดังนี้
                                                      k
                                                       t
                                          2 .M      ⎯ →⎯      M 2                          (3.30)
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88