Page 78 -
P. 78

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                       ปฏิกิริยาลูกโซ                                                                  69





                       จะเห็นวาปฏิกิริยาการแยกสลายดวยแสงของ HI  เปนปฏิกิริยาลูกโซและมีผลไดทางควอนตัม
                       ทั้งหมด = 2 เพราะการดูดกลืนแสง 1 โฟตอนใชในการทําลายสารตั้งตน HI 2 โมเลกุล
                                                                         6
                              ผลไดทางควอนตัมทั้งหมดมีคาตางๆ ตั้งแต 0 ถึง 10 โดยทั่วไปผลไดทางควอนตัมทั้งหมด

                       ของปฏิกิริยาลูกโซอาจมีคาสูงมากประมาณ 10   เนื่องจากขั้นแพรขยายของปฏิกิริยาลูกโซทําหนาที่
                                                              4
                       เปนตัวขยายทางเคมี (chemical amplifier) ของขั้นเริ่มตนที่มีการดูดกลืนแสง

                              ตามกฎของพลังคกลาววาพลังงานของแสง 1 โฟตอน (E ) มีคาเทากับคาคงที่ของพลังคคูณ
                                                                             p
                       กับความถี่ (frequency, ν) และจากคุณสมบัติของคลื่น จะไดความเร็วของแสงเทากับผลคูณระหวาง

                       ความถี่และความยาวคลื่น  ดังนั้นจะไดพลังงานของแสง 1  โฟตอน (E )  ขึ้นกับความถี่และ
                                                                                       p
                       แปรผกผันกับความยาวคลื่นตามสมการ (3.5) สวนพลังงานแสงทั้งหมด (E ) เทากับจํานวนโฟตอน
                                                                                     T
                       (n  N ) คูณกับพลังงานของแสง 1 โฟตอน ดังนั้นกําลัง (power, P) ของแหลงกําเนิดแสงคืออัตรา
                        p A

                       การปลอยพลังงานแสงทั้งหมด           จะเปนตัวกําหนดอัตราในการปลอยโฟตอนของแสงจาก
                       แหลงกําเนิดดังสมการ (3.6)
                                                                                  c h
                                                   E p     =      h ν      =     λ                (3.5)


                                                                  E              n p  N A  hν
                                                   P       =        T      =                      (3.6)
                                                                   t                 t
                       เมื่อ E , E  =  พลังงานของแสง 1 โฟตอนและพลังงานแสงทั้งหมด ตามลําดับ
                            p T

                              h = คาคงที่ของพลังค (Planck’s constant) = 6.63 x 10  Js
                                                                              -34
                          ν, λ =  ความถี่และความยาวคลื่นของแสง ตามลําดับ


                              c =    ความเร็วของแสง = 3.0 x 10  m s
                                                                 -1
                                                             8

                       จากนิยามของอัตราการเปลี่ยนแปลงจํานวนโมลโฟตอน (J ) และสมการ (3.6) จะได
                                                                       p
                                                                  n p              P
                                                   J p     =                 =                    (3.7)
                                                                   t             N A  ν h

                       แทนคาสมการ (3.7) ในสมการ (3.3) และอาจเปลี่ยนเทอมของความถี่เปนความยาวคลื่น มีผลทําให
                                                                   J                  J
                                                   Φ       =              =                       (3.8)
                                                                 (N   P/  A  hν )  Pλ  (N /  A  ) hc
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83