Page 74 -
P. 74

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                       การวิเคราะหทางจลนพลศาสตร                                                       65




                           d[HBr]
                                  =  k  [Br][H ] + k [H][Br ] – k [H][HBr]                        (2.115)
                                                      3
                                                 2
                                          2
                                                            2
                                                                 4
                             dt
                       จะพบวากฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียลของการเปลี่ยนแปลงความเขมขนของ HBr  เหมือนกับกลไกแบบ
                       ที่ 1 เพราะทั้งสองกลไกมีขั้นตอนที่เกี่ยวของกับ HBr เหมือนกัน และใชระเบียบวิธีประมาณสภาวะ
                       คงตัวในการหาความเขมขนของสารมัธยันตรหรือตัวนําพาลูกโซ คือ Br และ H
                                             d[H]                 d  [Br]
                                                   ~  0    และ            ~  0
                                              dt                    dt
                             d[Br]
                                   =  – k  [Br][H ] + k [H][Br ] + k [H][HBr]   ~ 0               (2.127)
                                           2
                                                  2
                                                                  4
                                                              2
                                                       3
                              dt
                             d[H]
                                     = 2k [H ] + k  [Br][H ] – k [H][Br ] – k [H][HBr] – 2k [H]   ~  0   (2.128)
                                                                                         2
                                                                         4
                                                  2
                                                                    2
                                          6 2
                                                                                     7
                                                             3
                                                         2
                              dt
                                                                             1/2
                                                                     k ⎡  [H  ]⎤
                       รวมสมการ (2.127) และ (2.128) จะได [H]  =   ⎢  6  2  ⎥                     (2.129)
                                                                  ⎣   k 7 ⎦
                                                                  ⎛  k ⎞ 1/2
                                                                  ⎜  6  ⎟   k (  3 [Br 2 ] + k 4 [HBr] )
                       แทนคา [H] ในสมการ (2.127) จะได [Br]  =   ⎝  k 7 ⎠                        (2.130)
                                                                           k 2  [H 2 ] 1/2
                       แทนคา [H] และ [Br] จากสมการ (2.129) และ (2.130) ตามลําดับในสมการ (2.115) จะได
                                                    d[HBr]           ⎛  k ⎞ 1/2
                                                                                   1/2
                                                            =  2 k ⎜     6  ⎟ [H ]  [Br ]         (2.131)
                                                                                 2
                                                                    3
                                                                                        2
                                                      dt             ⎝  k 7 ⎠
                       จะเห็นวาสมการ (2.131) ไมเหมือนกับสมการ (2.109) ซึ่งแสดงวากลไกแบบที่ 2 ไมสอดคลองกับ
                       การทดลอง

                       _____________________________________________________________________

                              ในการทดสอบกลไกทั้งสองแบบ (แบบที่ 1  และ 2)  ของปฏิกิริยาระหวางแกสไฮโดรเจน
                       และโบรมีน  พบวากลไกแบบที่ 1  มีกฎอัตราตรงกับการทดลอง  และในการเทียบขั้นเริ่มตนของ


                       กลไกทั้งสองแบบ  พบวาพลังงานในการสลายพันธะของโมเลกุล Br  (193 kJ mol )  ของกลไก
                                                                                              -1
                                                                                2
                       แบบที่ 1 มีคานอยกวาพลังงานในการสลายพันธะของโมเลกุล H (436 kJ mol ) ของกลไกแบบที่
                                                                                         -1
                                                                             2
                       2 ดังนั้นกลไกแบบที่ 1 นาจะเปนกลไกของปฏิกิริยาระหวางแกสไฮโดรเจนและโบรมีน
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79