Page 71 -
P. 71

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               62                                                                            บทที่ 2





                              ขั้นตอนหนวง (retardation step)  เปนขั้นที่ทําใหอัตราการเกิดผลิตภัณฑหลักใน
               ปฏิกิริยาลูกโซนี้ชาลง และไมทําใหปฏิกิริยาลูกโซสิ้นสุด แตสงผลใหผลิตภัณฑหลักลดลง

                              ขั้นตอนยับยั้ง (inhibition step)  เปนขั้นตอนที่ตัวนําพาลูกโซลดลงจากการชนกับ

               ผิวภาชนะ (walls of the vessels) หรือสารอื่นๆ ที่ไมเกี่ยวของกับปฏิกิริยา (foreign species)
                       สิ่งสําคัญของปฏิกิริยาลูกโซมี 3  ขั้นตอนหลักตามที่กลาวไปแลว  อยางไรก็ตามกลไกใน

               ขั้นตอนตางๆ อาจเหมือนปฏิกิริยาใดปฏิกิริยาหนึ่ง หรือผสมผสานหลายปฏิกิริยา เชน ปฏิกิริยาคอน

               เซคคิวทีฟ ปฏิกิริยาขนาน ปฏิกิริยายอนกลับได
                       ปฏิกิริยาหลายประเภทมีกลไกเชนเดียวกับปฏิกิริยาลูกโซ   เชน   ปฏิกิริยาการระเบิด

               (explosion)  ปฏิกิริยาโฟโตเคมี (photochemical reaction)  ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอรแบบลูกโซ

               (chain polymerization)  และจะกลาวในรายละเอียดตอไป  โดยสวนใหญปฏิกิริยาลูกโซมักจะมี
               สภาวะเปนแกส    ในที่นี้จะยกตัวอยางการวิเคราะหทางจลนพลศาสตรของปฏิกิริยาลูกโซระหวาง

               แกสไฮโดรเจนและโบรมีน ดังแสดงในปฏิกิริยาตอไปนี้


                                         H (g) +  Br (g)   ⎯ →⎯   2 HBr(g)                 (2.108)
                                                  2
                                          2
                                                                     o
               มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาในชวงอุณหภูมิระหวาง 200  และ 300 C  ที่เปนไปตามสมการเอมพิริคัล
               (empirical equation) ดังนี้

                                             d[HBr]        =       k  [H 2 ][Br 2 ] 1/2    (2.109)

                                               dt                 1+ k' [HBr]/ [Br 2 ]
               เมื่อ k′  =  0.1  (ไมขึ้นกับอุณหภูมิ)

                K  ∝     e - 40200/ RT  (ขึ้นกับอุณหภูมิ) และมีพลังงานกระตุน 40.2 kcal mol
                                                                                 -1
               สมการ (2.109) เปนสมการอัตราที่ซับซอน และสามารถอธิบายกลไกของปฏิกิริยาลูกโซแบบอนุมูล

               ตามกลไกแบบที่ 1 ดังตอไปนี้

               กลไกแบบที่ 1
                                                         k
                       ขั้นเริ่มตน             Br     ⎯⎯⎯  →     2 Br                     (2.110)
                                                           1
                                                  2
                                                         k
                       ขั้นแพรขยาย       Br +  H      ⎯⎯⎯   HBr  + H                      (2.111)
                                                           2
                                                            →
                                                 2
                                          H  +  Br     ⎯⎯⎯        HBr  +  Br               (2.112)
                                                         k
                                                           3
                                                            →
                                                 2
                                                         k
                       ขั้นตอนหนวง       H  +  HBr    ⎯⎯⎯  H   +  Br                      (2.113)
                                                           4
                                                            →
                                                                   2
                       ขั้นสิ้นสุด            2 Br     ⎯⎯⎯  →     Br 2                     (2.114)
                                                         k
                                                           5
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76