Page 66 -
P. 66

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                       การวิเคราะหทางจลนพลศาสตร                                                       57





                       เมื่อ k , k  =  คาคงที่อัตราของปฏิกิริยาไปขางหนาของการสลายตัวของสารตั้งตน A  และ
                           1  -1
                                     ปฏิกิริยายอนกลับของสารตั้งตน B ตามลําดับ
                              k  =  คาคงที่อัตราของปฏิกิริยาการสลายตัวของสารมัธยันตร B หรือ
                               2
                                     คาคงที่อัตราของปฏิกิริยาการเกิดผลิตภัณฑ P


                                                         d[P]
                       อัตราการเกิดสาร P        =                 =      k  [B]                   (2.96)
                                                                          2
                                                          dt
                       เนื่องจากสาร B เปนสารมัธยันตร ในที่นี้จึงสมมุติวาความเขมขนของสาร B นอยกวาความเขมขน

                       ของสารตั้งตน A  และผลิตภัณฑ P  มากๆ  และถือวาอัตราการเกิดผลิตภัณฑ P  เทากับอัตราการ

                       สลายตัวของสารตั้งตน A คือ
                                                         d[P]              d[A]
                                                                  =      –                        (2.97)
                                                          dt                dt

                                                          d[A]
                       จากสมการ (2.96) และ (2.97) จะได –         =      k  [B]                   (2.98)
                                                                          2
                                                           dt

                       จะเห็นวาสมการ (2.98) ไมสามารถหาความเขมขนที่แนนอนของสาร A หรือ B ที่เวลาตางๆ ได แต
                       จะไดความเขมขนที่ประมาณคา (approximated concentration) ของสาร A หรือ B เทานั้น โดยการ

                       พิจารณาจากการประมาณคาดวยวิธีตางๆ


                       _____________________________________________________________________


                       ระเบียบวิธีประมาณ (approximation method) มี 3 วิธี คือ
                       1.  ระเบียบวิธีประมาณสภาวะสมดุล (equilibrium approximation method)

                              ระเบียบวิธีประมาณสภาวะสมดุลเปนวิธีที่สมมุติวาปฏิกิริยามีสมดุล  แมวาจะไมใชสภาวะ

                       สมดุลจริง  เพื่อนําคุณสมบัติของสภาวะสมดุลมาพิจารณาแกปญหา เชน ปฏิกิริยาที่มีสมดุลกอนที่มี
                       ขั้นเริ่มตนเปนปฏิกิริยาที่ยอนกลับได  แตจะไมเกิดสมดุลจริงเหมือนกับปฏิกิริยาที่ยอนกลับไดอยาง

                       เดียว  เพราะสารมัธยันตรจะสลายตัวเพื่อยอนกลับเปนสารตั้งตนแลวยังสลายตัวเพื่อเกิดผลิตภัณฑ

                       ดวยซึ่งเปนการรบกวนสมดุล  ดังนั้นการพิจารณาปฏิกิริยาที่มีสมดุลกอนโดยระเบียบวิธีประมาณ
                       สภาวะสมดุลนั้น  จะสมมุติวาขั้นเริ่มตนมีสมดุล  และหาความเขมขนของสารมัธยันตรจากคาคงที่

                       สมดุล (K)
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71