Page 63 -
P. 63

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               54                                                                            บทที่ 2





               วิธีที่ 3 เปนวิธีที่งายที่สุดในการหากฎอัตราอินทิเกรต
               ให   y  =  ความเขมขนที่เปลี่ยนแปลงจากจุดสมดุลของสาร A ที่เวลา t (ดังแสดงในรูปที่ 2.9)

               และ [A] , [P]  =  ความเขมขนสมดุลของสาร A, P ตามลําดับ
                           e
                      e
               ดังนั้นความเขมขนของสาร A ที่เวลา t คือ             [A] = [A]  +  y        (2.83)
                                                                                e
               และจากปฏิกิริยา จะไดความเขมขนของสาร P ที่เวลา t คือ [P]  =  [P] –  y     (2.84)
                                                                               e


               รูปที่ 2.9  แสดงความเขมขนที่เปลี่ยนแปลงจากจุดสมดุลของสาร A  ที่เวลา t  หรือตัวแปร y  ของ
               ปฏิกิริยายอนกลับได A     k  1   P  ในกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงความเขมขนของสารตางๆ  และ
                                      k  -1
               เวลา ดังนี้คือ

                        ก. กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง [A] และ t (ซายมือ)

                        ข. กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง [P] และ t (ขวามือ)
                                     ก                                          ข

                      [A]                                        [P]
                  1.00                                       1.00



                  0.50  y                                    0.50

                                                                   y
                  0.00                                 t     0.00                                 t

                                                                  0     1     2     3     4     5

                      0     1     2     3     4     5
               แทนคา [A] และ [P] จากสมการ (2.83) และ (2.84) ตามลําดับ ลงในสมการ (2.71) จะได

                                       d ([A] + y)
                                           e
                                     –            =        k  ([A]  +  y) –  k  ([P]  –  y)
                                                                               e
                                                                 e
                                                                          -1
                                                            1
                                           dt
                                                y d
                                            –     =        (k  + k ) y + (k [A] – k [P] )  (2.85)
                                                                            e   -1 e
                                                                        1
                                                                -1
                                                            1
                                              dt
               เมื่อถึงสมดุลอัตราการเกิดปฏิกิริยาสุทธิ = 0 และ y = 0 ดังนั้นกฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียลของสมการ
               (2.85) จะเปลี่ยนเปน
                                            0      =       k  [A] – k [P]                  (2.86)
                                                                e  -1  e
                                                            1
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68