Page 65 -
P. 65

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               56                                                                            บทที่ 2





               แทนคา [P]  ที่ไดจากสมการ (2.87) ในสมการ (2.92) จะได
                         e
                                                                         k
                                                   [A]  =         [A]  +   1   [A] e
                                                                     e
                                                      0
                                                                        k  1 -
                                                                      ⎛ k      ⎞
               หรือ                                [A]  =         [A] ⎜    1 -  ⎟          (2.93)
                                                                               ⎟
                                                      e
                                                                      ⎜
                                                                     0
                                                                        k
                                                                      ⎝ 1 + k  1 -  ⎠
               แทนคา [A] จากสมการ (2.93) ในสมการ (2.91) จะได
                         e
                                                                  ⎛ k
                                                                            ⎟ (1 – e
                              [A]    =      [A] e  (k -  1 + k  1 -  )t  +  [A] ⎜  1 -  ⎞  (k -  1 + k  1 -  )t )
                                                                            ⎟
                                                                  ⎜
                                               0
                                                                 0
                                                                    k
                                                                  ⎝ 1  + k  1 -  ⎠
                                              [A]               (k -
                                     =           0  {k  +  k  e   1 +  k  1 -  )t }        (2.94)
                                                       -1
                                                            1
                                             k +  k  1 -
                                              1

               ขอสังเกต
               1.  สมการ (2.91)  และ (2.94)  แสดงการเปลี่ยนแปลงความเขมขนของสาร A  ที่เวลาตางๆ  กอน
                   สมดุลเชนเดียวกับสมการ (2.75) ของวิธีที่ 1 และสมการ (2.82) ของวิธีที่ 2 แตสมการ (2.91)
                   ตางจากสมการอื่นคือ มีเทอมของความเขมขนสมดุลของสาร A ดวย

               2.  ความเขมขนของสารตั้งตน A  ของปฏิกิริยาที่ยอนกลับไดมีคาต่ําสุดเทากับความเขมขนสมดุล

                   ของสาร A แตความเขมขนของสาร A ของปฏิกิริยาที่ยอนกลับไมไดมีคาเปนศูนยหรือเขาใกล

                   ศูนย  และหลักการนี้ใชไดกับสารที่เปนตัวกําหนดปริมาณของปฏิกิริยาที่มีสารตั้งตนมากกวา 1
                   ชนิด




                       2.6.4  ปฏิกิริยาที่มีสมดุลกอน (Pre-equilibrium)

                       ปฏิกิริยาที่มีสมดุลกอนเปนปฏิกิริยาเชิงซอนจากการรวมระหวางปฏิกิริยาเชิงซอน  2

               ประเภท  คือ  ปฏิกิริยาอนุกรมที่เริ่มดวยปฏิกิริยาที่ยอนกลับไดหรือปฏิกิริยาที่มีสมดุล  และตามดวย

               ปฏิกิริยาการสลายตัวของสารมัธยันตรตางๆ จนกลายเปนผลิตภัณฑ เชน


                                                             k
                                                              2
                                            A     k 1   B  ⎯ →⎯  P                         (2.95)
                                                  k -1
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70