Page 70 -
P. 70

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                       การวิเคราะหทางจลนพลศาสตร                                                       61






                       จะเห็นวาคาคงที่อัตราจากระเบียบวิธีประมาณทั้งสองตางกันเล็กนอย   โดยที่ระเบียบวิธีประมาณ

                       สภาวะคงตัวจะใชในกรณีทั่วไปไดกวางกวา  และในกรณีที่ k  >> k   จะทําใหคาคงที่อัตราจาก
                                                                           -1
                                                                                   2
                       ระเบียบวิธีประมาณสภาวะคงตัวจะเทากับคาคงที่อัตราจากระเบียบวิธีประมาณสภาวะสมดุล  หรือ

                       อาจกลาวไดวาในกรณีที่ k  >> k  เทานั้นจึงใชระเบียบวิธีประมาณสภาวะสมดุลได
                                            -1
                                                  2


                              2.6.5  ปฏิกิริยาลูกโซ (Chain Reaction)

                              ปฏิกิริยาลูกโซประกอบดวยขั้นตอนตางๆ  ซึ่งผลิตสารมัธยันตรที่เรียกวา  ตัวนําพาลูกโซ
                       (chain carrier)  ตัวนําพาลูกโซที่เกิดขึ้นในขั้นตอนหนึ่งจะทําใหเกิดตัวนําพาลูกโซใหมในขั้นตอน

                       ถัดไป  และการที่ตัวนําพาลูกโซหนึ่งจะผลิตตัวนําพาลูกโซอื่นตอไป  จึงทําใหเกิดปฏิกิริยาอยาง

                       ตอเนื่องมากมาย และสงผลใหเกิดผลิตภัณฑมากดวย

                              ตัวนําพาลูกโซเปนสารที่วองไวตอปฏิกิริยา ดังนั้นตัวนําพาลูกโซอาจเปนอนุมูล (radical) ที่
                       เปนสารที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยว (unpaired electron) หรือไอออน (ion) หรือนิวตรอน (neutron) สําหรับ

                       กรณีปฏิกิริยาการแตกตัวนิวเคลียร (nuclear fission)

                              ลักษณะของปฏิกิริยาลูกโซประกอบดวย 3 ขั้นตอนหลักคือ

                              2.6.5.1 ขั้นเริ่มตน (initiation step) เปนขั้นที่ผลิตตัวนําพาลูกโซตัวแรกในปฏิกิริยาลูกโซ
                       และเปนตัวนําพาลูกโซสําคัญที่ทําใหเกิดปฏิกิริยาในขั้นตอไป

                              2.6.5.2 ขั้นแพรขยาย (propagation step) เปนขั้นที่ตัวนําพาลูกโซจะทําปฏิกิริยากับสารตั้ง

                       ตน หรืออาจสลายตัวเอง แลวทําใหเกิดตัวนําพาลูกโซใหม และตัวนําพาลูกโซใหมนี้จะเกิดปฏิกิริยา
                       ตามที่กลาวขางตนอีกในขั้นถัดๆ ไป ขั้นแพรขยายนี้เปนสวนสําคัญในการเกิดผลิตภัณฑตอไป หรือ

                       อาจเกิดผลิตภัณฑก็ได และขั้นแพรขยายเปนขั้นที่เกิดเร็วกวาขั้นอื่นๆ

                              2.6.5.3 ขั้นสิ้นสุด (termination step) เปนขั้นที่ทําใหปฏิกิริยาลูกโซสิ้นสุด ซึ่งอาจเกิดได

                       จากตัวนําพาลูกโซอาจชนกันเองหรือชนกับสารอื่นๆ แลวทําใหสิ้นสุดปฏิกิริยาลง


                              นอกจากนี้ยังอาจประกอบดวยขั้นตอนอื่นๆ เชน

                                     ขั้นตอนสาขา (branching reaction)  เปนขั้นที่มีลักษณะคลายกับขั้นแพรขยาย  แต
                       เปนขั้นตอนที่ทําใหเกิดตัวนําพาลูกโซประเภทอื่นๆ   และมีสวนสําคัญในการเกิดผลิตภัณฑรอง

                       (minor product) และอาจเกิดผลิตภัณฑรองไดหลายๆ ชนิด
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75