Page 75 -
P. 75

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี











                                                                                           3










               _____________________________________________________________________

               ปฏิกิริยาลูกโซ







               Chain Reaction




               _____________________________________________________________________


                       จากบทที่แลวไดกลาวถึงหลักการและกลไกของปฏิกิริยาลูกโซ รวมทั้งการตรวจสอบกลไก
               ของปฏิกิริยา อยางไรก็ตามปฏิกิริยาลูกโซเปนกลไกหนึ่งที่เกิดขึ้นในหลายปฏิกิริยา เชน ปฏิกิริยาโฟ

               โตเคมี (photochemical reaction)  ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบลูกโซ (chain polymerization)

               ปฏิกิริยาการระเบิด (explosion) เปนตน โดยจะกลาวถึงรายละเอียดของปฏิกิริยาลูกโซแบบตางๆ ใน
               บทนี้


               3.1  ปฏิกิริยาโฟโตเคมี (Photochemical Reaction)

                       ปฏิกิริยาโฟโตเคมี  คือ  ปฏิกิริยาที่เริ่มตนจากการดูดกลืนแสง  เพื่อทําใหสารอยูในสภาวะ

               กระตุน (excited state)  เชน  ในกรณีปฏิกิริยาที่มีการดูดกลืนแสงในชวงที่มองเห็น (visible)  หรือ

               อัลตราไวโอเลต (ultraviolet)  เพื่อใหมีการเปลี่ยนแปลงทางอิเล็กทรอนิกส (electronic transition)
               ดังนั้นโมเลกุลในสภาวะกระตุนทางอิเล็กทรอนิกสนี้     จะมีการกระจายของอิเล็กตรอนและ

               โครงสรางของนิวเคลียสแตกตางจากสภาวะพื้น (ground state) และการที่ไดรับพลังงานแสง จึงทํา

               ใหเกิดการเปลี่ยนรูปไดเอง และไดผลิตภัณฑหลายชนิดมากกวาสภาวะพื้น โดยที่ปฏิกิริยาในสภาวะ
               พื้นเกิดขึ้นจากการไดรับพลังงานกระตุนจากกการชนกันของโมเลกุลอยางไมเปนระเบียบ (random)

               และมีทิศทางที่เหมาะสม
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80