Page 85 -
P. 85
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
76 บทที่ 3
ดังนั้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบลูกโซแปรตามรากที่สองของความเขมขนของตัว
เริ่มตน (initiator, I) และแปรตามความเขมขนของโมโนเมอร (monomer, M)
ตัวแปรที่บอกประสิทธิภาพของการเกิดสายโซพอลิเมอรมี 2 ชนิด คือ ความยาวของสายโซ
ทางจลนพลศาสตร (kinetic chain length, η) และองศาของการเกิดพอลิเมอร (degree of
polymerization, <n>)
1. ความยาวของสายโซทางจลนพลศาสตร (kinetic chain length, η) ตามนิยาม คือ จํานวน
โมโนเมอรที่ใชไปตอหนึ่งตัวกลางที่วองไว (active center) ที่เกิดขึ้นในขั้นเริ่มตน หรืออาจกลาวได
วา η คือ อัตราสวนระหวางจํานวนโมโนเมอรที่ใชไปและจํานวนอนุมูลโมโนเมอรที่เกิดขึ้นในขั้น
เริ่มตน โดยที่จํานวนโมโนเมอรที่ใชไปสวนใหญเกิดขึ้นในขั้นแพรขยาย จึงขึ้นกับอัตราเร็วของขั้น
แพรขยาย และจํานวนอนุมูลโมโนเมอรที่เกิดขึ้นในขั้นเริ่มตนจึงขึ้นกับอัตราเร็วของขั้นเริ่มตน
ดังนั้นอาจเขียนสมการของ η ในรูปอัตราสวนระหวางอัตราเร็วของขั้นแพรขยายและขั้นเริ่มตน ดัง
สมการตอไปนี้
rate p
η = (3.37)
rate i
สมการ (3.37) แสดงใหเห็นวา η เปนตัวแปรที่บอกประสิทธิภาพของกลไกในขั้นแพรขยายของ
ปฏิกิริยาลูกโซ เนื่องจากอัตราเร็วของขั้นเริ่มตนเทากับอัตราเร็วของขั้นสิ้นสุด จึงแทนคาอัตราเร็ว
ของขั้นสิ้นสุดในสมการ (3.37) คือ
rate p
η = (3.38)
rate t
แทนคาอัตราเร็วของขั้นแพรขยายและขั้นสิ้นสุดจากสมการ (3.28) และ (3.31) ตามลําดับ จะได
k p [⋅ M] [M]
η =
t [ k ⋅ M] 2
k p [M]
= (3.39)
t [ k ⋅ M]