Page 87 -
P. 87
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
78 บทที่ 3
ในทํานองเดียวกัน ถาอัตราเร็วของขั้นเริ่มตนต่ํา (โดยมีความเขมขนของตัวเริ่มตน I ต่ําและคาคงที่
อัตราของขั้นกําหนดอัตราในขั้นเริ่มตน k นอย) จะทําใหความยาวของสายโซทางจลนพลศาสตร
i
(η) สูง และมวลโมเลกุล (molar mass) ของพอลิเมอรจะมีคาสูงดวย
3.3 ปฏิกิริยาระเบิด (Explosion)
ปฏิกิริยาระเบิดมี 2 แบบคือ
3.3.1 ปฏิกิริยาระเบิดทางความรอน (Thermal Explosion)
ปฏิกิริยาระเบิดทางความรอน คือ ปฏิกิริยาที่มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว
ตามการเพิ่มของอุณหภูมิ ในปฏิกิริยาคายความรอน ถาพลังงานความรอนของปฏิกิริยาไมสามารถ
ปลดปลอยออกมา จะมีผลทําใหอุณหภูมิเพิ่มขึ้น และสงผลใหปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น ดังนั้นการเรงของ
อัตราเร็วจะสงผลใหอุณหภูมิเพิ่มเร็วขึ้น และกอใหเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้นอยางตอเนื่องจนถึงขั้นรุนแรง
3.3.2 ปฏิกิริยาระเบิดแบบสาขาลูกโซ (Chain-branching Explosion)
ปฏิกิริยาระเบิดแบบสาขาลูกโซเกิดขึ้นได ตอเมื่อในปฏิกิริยาลูกโซมีขั้นตอนสาขา และตัว
นําพาลูกโซจะเพิ่มขึ้นอยางเอกซโพเนนเชียล (exponentially) ทําใหอัตราการเกิดปฏิกิริยามีคาสูง
มากจนกลายเปนปฏิกิริยาระเบิดได
ตัวอยางของปฏิกิริยาระเบิดทั้งสองแบบนี้ เชน ปฏิกิริยาระหวางแกสไฮโดรเจนและ
ออกซิเจน ดังสมการตอไปนี้
H (g) + O (g) ⎯ →⎯ 2 H O (g) (3.45)
2
2
2
.
ตัวนําพาลูกโซของปฏิกิริยา คือ .H, .O. , OH และ .O H และมีกลไกซับซอนอยู 2 แบบตามสภาวะ
2
ของระบบ ดังตอไปนี้
กลไกแบบที่ 1 (แสดงบางขั้นตอน)
k
ขั้นเริ่มตน H + .(O ). ⎯⎯⎯ → 2 .OH (3.46)
1
2
2
ขั้นแพรขยาย H + .OH ⎯⎯⎯ → .H + H O (3.47)
k
2
2
2
k
ขั้นตอนสาขา .(O ). + .H ⎯⎯⎯ → .O. + .OH (3.48)
3
2
k
.O. + H ⎯⎯⎯ → .OH + .H (3.49)
4
2