Page 84 -
P. 84

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                       ปฏิกิริยาลูกโซ                                                                  75





                       และอัตราการเกิดปฏิกิริยาของขั้นสิ้นสุดคือ
                                                         1  [ d  ] M ⋅
                                            rate  =  –               = k  [.M] 2                  (3.31)
                                               t
                                                                          t
                                                         2 dt
                                                            [ d  ] M ⋅
                       หรือ                                          =  – 2 k  [.M] 2             (3.32)
                                                                             t
                                                             dt


                       ในทางปฏิบัติอาจเกิดปฏิกิริยาขางเคียง (side reaction) เชน การถายเทลูกโซ (chain transfer) ซึ่งทํา

                       ใหเกิดสายโซพอลิเมอรสายใหมแทน ดังสมการตอไปนี้
                                            M  +  .Mn      ⎯ →⎯      .M +  Mn                     (3.33)



                              โดยทั่วไปการสังเคราะหสารพอลิเมอรคํานึงถึงขนาดของสายโซหรือจํานวนโมโนเมอรที่

                       ใชในการสังเคราะห   ดังนั้นการสังเคราะหสารพอลิเมอรจึงคํานึงถึงอัตราการใชโมโนเมอรหรือ
                       อัตราเร็วในขั้นแพรขยายตามสมการ (3.28)  และในการหาความเขมขนของอนุมูลหรือตัวนําพา

                       ลูกโซที่มีคาเกือบคงที่ตลอดกระบวนการ   เนื่องจากอัตราการเกิดอนุมูลหรือตัวนําพาลูกโซในขั้น

                       เริ่มตนตามสมการ (3.26)  เกือบเทากับอัตราการสลายตัวของอนุมูลหรือตัวนําพาลูกโซขั้นสิ้นสุด

                       ตามสมการ (3.32)  จึงสามารถใชระเบียบวิธีประมาณสภาวะคงตัว (steady-state approximation
                       method) คือ
                                              [ d  ] M ⋅
                                                       = 2 φ k [I]  – 2 k  [.M] 2   ~ 0           (3.34)
                                                               i
                                                                        t
                                               dt
                                                                      ⎛ φ k ⎞ 1/2
                                                                           i
                       จะได                               [.M] =  ⎜        ⎟  [I] 1/2            (3.35)
                                                                      ⎜
                                                                            ⎟
                                                                      ⎝  k t ⎠

                       สมการ (3.35) แสดงวาความเขมขนในสภาวะคงตัว (steady-state concentration) ของอนุมูลหรือตัว
                       นําพาลูกโซ  แปรตามรากที่สองของความเขมขนของตัวเริ่มตน  และนําไปแทนคาในสมการ (3.28)

                       คือ

                                                          [ d  ] M ⋅        ⎛ φ k ⎞ 1/2
                                                                                 i
                                            rate p    =  –      =  k [M] ⎜        ⎟  [I] 1/2      (3.36)
                                                                      p
                                                                            ⎜
                                                                                  ⎟
                                                          dt                ⎝  k t ⎠
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89