Page 35 -
P. 35

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               26                                                                            บทที่ 2






               วิธีที่ 2

                                               (a d   x) -
                                                 0
               ใชสมการ (2.6) และ k = k′a,  –    dt        =      k(a  – x) 3
                                                                     0
                                              x (ad  - x)          t
                                                   0
               จัดรูปใหมและอินทิเกรต จะได –∫      x)   -  3   =   k dt
                                                                   ∫
                                              0  (a 0              0

                                  1 ⎛    1       1  ⎞
                                    ⎜         –    ⎟       =      k t                      (2.23)
                                    ⎜
                                  2 (a -  x) 2  a 2 0  ⎠
                                    ⎝ 0


                       สําหรับการหาคาครึ่งชีวิตโดยอาศัยสมการ (2.22)  หรือ (2.23)  เมื่อแทนคา [A] = [A] /2
                                                                                                0
               หรือ (a – x) = a /2 จากวิธีที่ 1 หรือ 2 ตามลําดับ และ t = t  จะได
                                                                1/2
                     0
                             0
                                                                     3           3
                                                   t 1/2   =               หรือ            (2.24)
                                                                    k  2  [A] 2 0  a k  2  2 0
               จะเห็นวาครึ่งชีวิตของปฏิกิริยาอันดับสามขึ้นกับความเขมขนของสารที่จุดเริ่มตน



                       ในกรณีที่ปฏิกิริยาที่มีสารตั้งตนชนิดเดียว หรือ ปฏิกิริยาที่ขึ้นกับสารตั้งตนชนิดเดียว และมี
               อันดับตางๆ เชน 0, 1, 2 และ 3 สามารถสรุปกฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล กฎอัตราอินทิเกรต หนวยของ

               คาคงที่อัตราและฟงกชันของครึ่งชีวิตที่ชัดเจนดังตาราง 2.1 เพื่อใชในการเปรียบเทียบผลที่ไดจากวิธี

               ที่ 1 และ 2 ในปฏิกิริยาที่มีอันดับตางๆ (โดยไมมีจุดประสงคใหทองจํา)

                       นอกจากนี้ในรูปที่ 2.5 เปนการรวบรวมกราฟแสดงความสัมพันธระหวางความเขมขนของ
               สารตั้งตนและเวลาของปฏิกิริยาที่มีสารตั้งตนชนิดเดียว  หรือ  ปฏิกิริยาที่ขึ้นกับสารตั้งตนชนิดเดียว

               ที่มีอันดับตางๆ เชน 0, 1, 2 และ 3  รวมทั้งกราฟเสนตรงระหวางฟงกชันของความเขมขนของสาร

               ตั้งตนและเวลา เพื่อใหเห็นความแตกตางของปฏิกิริยาที่มีสารตั้งตนชนิดเดียว หรือ ปฏิกิริยาที่ขึ้นกับ
               สารตั้งตนชนิดเดียวที่มีอันดับตางๆ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40