Page 120 -
P. 120
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
การเรงปฏิกิริยาแบบเอกพันธุ 111
การวัดคาคงที่สมดุลของการแตกตัวของสาร EI หรือ K ในปฏิกิริยาที่มีเอนไซมเปนตัวเรงและมีตัว
I
ยับยั้งเอนไซมนั้นทําไดโดยใชความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยา (R) และความเขมขน
ของสารตั้งตน ([S]) เมื่อกําหนดใหความเขมขนของตัวยับยั้งเอนไซม ([I]) คงที่ และจัดรูปสมการ
(5.83) โดยกลับเศษเปนสวน จะไดสมการเสนตรงในรูปแบบของสมการไลนวีเวอรและเบอรก
(Lineweaver and Burk) คือ
1 [S] + K (1+ [I]/K )
= M I
R R max [S]
1 K ⎧ [I] ⎫
= + M ⎨ + 1 ⎬ (5.84)
R max R max [S] ⎩ K I ⎭
รูปที่ 5.7 แสดงความสัมพันธระหวางสวนกลับของอัตราการเกิดปฏิกิริยาของปฏิกิริยาที่มีเอนไซม
เปนตัวเรง (1/R) และ สวนกลับของความเขมขนของสารตั้งตน (1/[S]) ใน 2 กรณีคือ
(ก) ไมมีตัวยับยั้งเอนไซม (ข) มีตัวยับยั้งเอนไซม
-1
1/(R/M s )
45 (ก)
35 (ข)
25
15
5 1/([S]/M)
-5
-1.0 -0.5 0.0 0.5 1.0
สมการ (5.84) เปนสมการเสนตรงที่แสดงความสัมพันธระหวางสวนกลับของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
(1/R) และสวนกลับของความเขมขนของสารตั้งตน (1/[S]) ในรูปที่ 5.7