Page 116 -
P. 116
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
การเรงปฏิกิริยาแบบเอกพันธุ 107
รูปที่ 5.4 แสดงความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่มีเอนไซมเปนตัวเรงและความเขมขน
ของสารตั้งตน เมื่อ R คืออัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุด
max
d[P]
R =
dt
R
max
R max
2
[S] = K [S]
M
เนื่องจากอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่มีเอนไซมเปนตัวเรงตามสมการ (5.66) และ (5.70) ขึ้นกับ
ความเขมขนของสารตั้งตนในรูปซับซอน และการศึกษาขอมูลจากการทดลองเพื่อหาความสัมพันธ
ดังกลาวจะทําไดยาก ดังนั้นอาจทําโดยจัดรูปแบบสมการ (5.70) ใหม ใหเปนสมการเสนตรงไดซึ่ง
จะนําเสนอเปน 2 รูปแบบ คือ
รูปแบบที่ 1 สมการไลนวีเวอรและเบอรก (Lineweaver and Burk) โดยกลับเศษเปนสวนของ
สมการ (5.70) คือ
1 1 K + [S]
M
= =
R d[P] dt / R max [S]
K M 1
= + (5.73)
R max [S] R max
ความสัมพันธระหวางสวนกลับของอัตราการเกิดปฏิกิริยา (1/R) และ สวนกลับของความเขมขน
ของสารตั้งตน (1/[S]) เปนกราฟเสนตรงดังรูปที่ 5.5 และจะคํานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุด
(R ) ไดจากจุดตัดแกน y หรือแกน 1/R และหาคาคงที่ไมเคิลลิส (K ) ไดจากความชันเมื่อทราบ
M
max
คา R max แลว