Page 114 -
P. 114
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
การเรงปฏิกิริยาแบบเอกพันธุ 105
k 1 -
คาคงที่สมดุลของการแตกตัวของสาร ES คือ K = (5.63)
S
k 1
ถา k << k จะไดคาคงที่ไมเคิลลิส (K ) มีคาเทากับคาคงที่สมดุลของการแตกตัวของสาร ES
2
-1
M
(K )โดยเทียบสมการ (5.61) และ (5.63)
S
ใหความเขมขนทั้งหมดของสาร E = [E] = [E] + [ES] (5.64)
0
ความเขมขนทั้งหมดของสาร S = [S] = [S] + [ES] ~ [S]
tot
เนื่องจากความเขมขนของสารมัธยันตรมีคานอยมากเมื่อเทียบกับสารตั้งตน หรือ [ES] << [S]
แทนคา [E] จากสมการ (5.63) ในสมการ (5.61) จะได
([E] − [ES]) [S]
0
[ES] =
K M
[E] [S]
จัดรูปใหม จะได [ES] = 0 (5.65)
K M + [S]
แทนคา [ES] จากสมการ (5.65) ในสมการ (5.57) จะได
d [P] k [E] [S]
R = = 2 0 (5.66)
dt K M + [S]
จะเห็นวาอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่มีเอนไซมเปนตัวเรง (rate of enzymolysis) ตามสมการ (5.66) แปร
ตามความเขมขนเริ่มตนของเอนไซม ([E] ) และรูปซับซอนของความเขมขนของสารตั้งตน ([S])
0
ในการพิจารณาอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่มีเอนไซมเปนตัวเรงตามสมการ (5.66) มี 2 กรณี คือ
กรณีที่ 1 เมื่อความเขมขนของสารตั้งตนมีคามากกวาคาคงที่ไมเคิลลิส หรือ [S] >> K จะได
M
d [P]
R = ~ k [E] 0 (5.67)
2
dt
สมการ (5.67) แสดงวา ในสภาวะพิเศษเชนนี้จะเปนปฏิกิริยาอันดับหนึ่งเทียม (pseudo-first order
reaction) ในรูปของความเขมขนเอนไซม หรืออาจกลาวไดวาอัตราการเกิดปฏิกิริยาในสมการ
(5.67) มีคาสูงสุด (R ) เมื่อความเขมขนเริ่มตนของเอนไซมมีคาคงที่หนึ่งๆ ([E] ) นั่นคือ
0
max