Page 119 -
P. 119
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
110 บทที่ 5
แทนคา [EI] จากสมการ (5.76) ในสมการ (5.77) จะได
[E] [I]
[E] = [E] + [ES] + (5.78)
0
K I
จัดรูปใหมจะได [E] = [ES] + [E](1 + [I] / K ) (5.79)
I
0
แทนคา [E] จากสมการ (5.62) ในสมการ (5.79) จะได
⎛ K [ES] ⎛ [I] ⎞
⎞
[E] = [ES] + ⎜ M ⎟ ⎜ + 1 ⎟ (5.80)
⎜
⎟
0
⎝ [S] ⎠ ⎝ K I ⎠
[E]
จัดรูปใหมจะได [ES] = 0 (5.81)
⎛ [I] ⎞ K
1+ ⎜ 1 ⎜ + ⎟ M
⎟
⎝ K I ⎠ [S]
แทนคา [ES] จากสมการ (5.81) ในสมการ (5.57) จะไดกฎอัตราคือ
k 2 [E] 0 [S]
อัตราการเกิดปฏิกิริยา R = (5.82)
[S] + K M (1+ [I]/K I )
แทนคาอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุด (R ) จากสมการ (5.68) ในสมการ (5.82) จะได
max
R max [S]
R = (5.83)
[S] + K M (1+ [I]/K I )
จะเห็นวาตัวยับยั้งเอนไซม (I) ที่ทําปฏิกิริยากับเอนไซม (E) ในสมการ (5.75) เปนปฏิกิริยาแขงขัน
กับสารตั้งตน (S) ที่สรางพันธะกับเอนไซม (E) ในสมการ (5.56) มีผลทําใหอัตราการเกิดปฏิกิริยา
ชาลง แตไมมีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุด (R ) และเรียกตัวยับยั้งนี้วา ตัวยับยั้งเอนไซม
max
แบบแขงขัน (competitive enzyme inhibitor) การที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาชาลงมาจากคาคงที่ไมเคิล
ลิส (K ) ที่คูณดวยเทอม (1 + [I]/K ) และเทอมนี้ขึ้นอยูกับความเขมขนของตัวยับยั้งเอนไซมคือ
I
M
1. กรณีไมมีตัวยับยั้งเอนไซมหรือ [I] = 0 จะไดอัตราการเกิดปฏิกิริยาในสมการ (5.82) เทากับ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่มีเอนไซมเปนตัวเรงในสมการ (5.66)
2. กรณีความเขมขนของตัวยับยั้งเอนไซมหรือ [I] มีคามาก จะมีผลทําใหอัตราการเกิดปฏิกิริยาชา
ลงมากดวย (ดูสมการ (5.82) ประกอบ)