Page 122 -
P. 122

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                       การเรงปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธุ                                                  113





                              4.  การหลุดจากพื้นผิว (desorption) ของผลิตภัณฑ
                              5.  การแพรของผลิตภัณฑ

                              โดยทั่วไปปฏิกิริยาที่มีตัวเรงในสถานะของแข็งจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสุทธิ   ขึ้นกับ

                       ขั้นตอนที่ 2  และ 3  ดังนั้นการดูดซับและปฏิกิริยาบนพื้นผิวจึงเปนกระบวนการสําคัญที่กลาวใน
                       รายละเอียดตอไป





                       6.1  การดูดซับ (Adsorption)

                              การดูดซับเปนกระบวนการที่มีแรงอันตรกิริยาของโมเลกุลที่ถูกดูดซับ    (adsorbed

                       molecule)  โดยการยึดระหวางตัวถูกดูดซับ (adsorbate)  เขากับพื้นผิวของสารที่เปนของแข็งและ
                       เรียกวา  ตัวดูดซับ (adsorbent)  การดูดซับสวนใหญเปนกระบวนการคายความรอน (exothermic)

                       และยอนกลับได (reversible)

                              การดูดซับอาจแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
                              1.  การดูดซับทางกายภาพ (physisorption or physical adsorption) เปนการดูดซับที่เกิดจาก

                       อันตรกิริยาระหวางสารตั้งตนและตัวดูดซับ  ที่เรียกวา  แรงแวนเดอรวาลส (van der Waals force)

                       เชน แรงกระจาย (dispersion force) แรงระหวางขั้ว (dipolar force) เปนตน แรงอันตรกิริยานี้เปน

                       แรงกระทําที่ออนและเกิดไดงาย ดังนั้นการดูดซับทางกายภาพจะไมเปลี่ยนโครงสรางของโมเลกุลที่
                       ถูกดูดซับ (physisorbed molecule)  แตอาจจะทําใหตัวดูดซับมีพื้นผิวที่บิดเบี้ยว (distorted surface)

                       สําหรับคาการเปลี่ยนแปลงเอนทัลปของการดูดซับที่สภาวะมาตรฐาน (standard enthalpy change of

                       adsorption, ΔH ) สวนใหญประมาณ -20 kJ mol และคา ΔH ของการดูดซับทางกายภาพมัก
                                                                  -1
                                                                              θ
                                    θ
                                    ad
                                                                              ad
                       อยูในชวงระหวาง -8 และ -20 kJ mol  แตกรณีพิเศษอาจมีคา ΔH สูงมาก คือมีคาระหวาง -20
                                                       -1
                                                                                θ
                                                                                ad
                       และ -90 kJ mol  (ดูคา ΔH ของสารบางชนิดในตาราง A2.8 ของภาคผนวก 2)
                                    -1
                                              θ
                                              ad
                              2.  การดูดซับทางเคมี (chemisorption or chemical adsorption)  เปนการดูดซับที่เกิดจาก
                       ปฏิกิริยาทางเคมี โดยทั่วไปมักจะเปนพันธะโคเวเลนท (covalent bond) ซึ่งเปนแรงกระทําที่แข็งแรง
                       กวาการดูดซับทางกายภาพ และเปนกระบวนการที่เกิดชากวา การดูดซับทางเคมีจะมีคา ΔH  เปน
                                                                                                    θ
                                                                                                    ad
                       ลบหรือกระบวนการคายความรอน       ยกเวนตัวถูกดูดซับที่แตกตัวได  (dissociative)  และมี
                       ความสามารถเคลื่อนที่ (translational mobility)  บนพื้นผิวสูง  จะเปนกระบวนการดูดความรอน

                       ดังนั้นคา ΔH  สวนใหญมีคาสูงคือประมาณ -200 kJ mol  และคา ΔH  ของการดูดซับทางเคมี
                                                                        -1
                                                                                    θ
                                  θ
                                                                                    ad
                                  ad
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127