Page 127 -
P. 127

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               118                                                                           บทที่ 6




                                                           p′ N            N n
               คูณสมการ (6.8) ดวย N  และจัดรูปใหม จะได      A     =       A             (6.9)
                                   A
                                                             RT            V
               เมื่อ N  = เลขอาโวกาโดร = 6.02 x 10  mol
                                                     -1
                                               23
                     A
               ถากําหนดให p = ความดันในอีกรูปหนึ่ง ณ อุณหภูมิ T คงที่ และจากสมการ (6.9) จะได
                                                           p′ N
                                            p      =           A     = [A]                 (6.10)
                                                             RT
               แทนคา [AM], [M] และ [A] จากสมการ (6.6), (6.7), (6.10) ในสมการ (6.5) จะได
                                             dθ
                                       N         =         k  p N  (1 – θ) – k  N  θ
                                                            a
                                                                mon
                                        mon
                                                                             d mon
                                             dt
                                             dθ
                                                 =         k  p (1 – θ) – k  θ             (6.11)
                                                            a
                                                                        d
                                             dt
                          dθ
               ที่จุดสมดุล    = 0 ดังนั้นสมการ (6.11) จะเปลี่ยนเปน
                          dt
                                            0      =       k  p (1 – θ) – k  θ
                                                            a
                                                                        d
               หรือ                    k  p (1 – θ) =      k  θ
                                                            d
                                        a
               แทนคา K จากสมการ (6.4) จะได
                                       K p (1 – θ) =        θ
                                                              p K
               จัดรูปใหม จะได             θ      =                                       (6.12)
                                                           1+  p K
               สมการ (6.12) คือ ไอโซเทอรมแลงเมียร (Langmuir isotherm) ซึ่งแสดงใหเห็นวา เศษสวนของการ

               ปกคลุมบนพื้นผิว (θ) แปรตามความดัน (p) ของแกส A หรืออาจกลาวไดวาการดูดซับของแกสบน

               พื้นผิวของตัวดูดซับที่เปนของแข็งจะเพิ่มขึ้นเมื่อความดันของแกสเพิ่มขึ้น  และแสดงไอโซเทอรม
               แลงเมียรของการดูดซับในรูปความสัมพันธระหวาง θ และ p ไดดังรูปที่ 6.1



                       ในการพิจารณาไอโซเทอรมแลงเมียรในสมการ (6.12) มี 2 กรณี คือ

               กรณีที่ 1  ถาความดันต่ํา หรือ K p << 1 จะได

                                            θ      ~       K p                             (6.13)
               สมการ (6.13)  แสดงวา  ในกรณีความดันต่ําจะไดเศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิว (θ)  แปรผัน

               โดยตรงกับความดัน (p)
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132