Page 115 -
P. 115
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
106 บทที่ 5
⎛ d [P] ⎞
อัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุด R max = ⎜ ⎟ ~ k [E] 0 (5.68)
2
⎝ dt ⎠ max
และสามารถหาคาคงที่อัตรา k เมื่อทราบคา R และ [E]
0
max
2
กรณีที่ 2 เมื่อความเขมขนของสารตั้งตนนอยกวาคาคงที่ไมเคิลลิส หรือ [S] << K จะเปลี่ยน
M
สมการ (5.66) เปน
d [P] k 2 [E] 0 [S]
R = ~ (5.69)
dt K M
สมการ (5.69) แสดงวาในสภาวะพิเศษนี้จะถือวาเปนปฏิกิริยาอันดับสองเทียม (pseudo-second
order reaction)
ในกราฟแสดงความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยาและความเขมขนของสารตั้งตน
ดังรูปที่ 5.4 จะพบวาเมื่อความเขมขนของสารตั้งตนเพิ่มขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น ซึ่ง
เปนไปตามกรณีที่ 2 คือในกรณีที่สารตั้งตนมีความเขมขนนอยๆ และเมื่อความเขมขนของสารตั้งตน
มีคามากๆ อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะมีคาสูงสุด (R ) ซึ่งเปนไปตามสมการ (5.68) ในกรณีที่ 1 และ
max
สมการ (5.66) จึงเขียนไดอีกรูปแบบหนึ่งคือ
d [P] R [S]
R = = max (5.70)
dt K + [S]
M
นอกจากนี้ในกรณีที่อัตราการเกิดปฏิกิริยามีคาเปนครึ่งหนึ่งของอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุด
(R /2) จะไดคาคงที่ไมเคิลลิส K ที่มีคาเทากับความเขมขนของสารตั้งตน และสามารถอธิบายได
M
max
จากการแทนคา R /2 และ R ทางซายและขวามือตามลําดับในสมการ (5.66) จะได
max
max
R R [S]
max = max (5.71)
2 K M + [S]
โดยสมการ (5.71) จะเปนจริงตอเมื่อ K = [S] (5.72)
M