Page 52 -
P. 52
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 4-10 ความพึงพอใจของผู้แทนกลุ่มต่อการให้บริการด้านตลาดยางพาราของ สกย.
สถาบันเกษตรกร (n=24) เกษตรกรรายย่อย (n=40)
ประเด็น
ค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับ ค่า S.D. ค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับ ค่า S.D.
1) สถานที่/วัสดุอุปกรณ์ 3.98 มาก 4.01 มาก
1.1 ความเหมาะสมของตลาดยาง (สถานที่สะอาด 3.86 มาก 0.79 4.00 มาก 0.48
กว้างขวาง เพียงพอ)
1.2 สถานที่ตั้งของตลาดยางพารามีความสะดวกในการ 4.14 มาก 0.57 4.14 มาก 0.64
เดินทาง
1.3 ความพร้อมของอุปกรณ์สํานักงานของตลาดยาง 4.05 มาก 0.65 4.06 มาก 0.53
สกย.
1.4 ความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ในการให้บริการซื้อ- 4.05 มาก 0.76 4.03 มาก 0.61
ขาย เช่น ที่รองยาง(พาเลซ) เครื่องชั่งนํ้าหนัก รถยก เป็นต้น
1.5 ความพร้อมของสถานที่(โกดัง)เก็บผลผลิตยางพารา 3.70 มาก 0.92 3.88 มาก 0.69
1.6 ความสะดวกและเพียงพอของที่นั่งพัก นํ้าดื่ม ห้องนํ้า 4.05 มาก 0.59 3.92 มาก 0.69
2) การบริการของตลาดยางพารา 4.16 มาก 3.93 มาก
2.1 ระบบการบริหารจัดการของตลาดยางพารา 4.27 มากที่สุด 0.55 4.17 มาก 0.38
2.2 การให้บริการและการอํานวยความสะดวกในการซื้อ 4.32 มากที่สุด 0.57 4.14 มาก 0.43
ขาย
2.3 การให้บริการ ข้อมูลด้านการตลาด เช่น การบริการ 4.46 มากที่สุด 0.51 3.89 มาก 0.99
ส่งข้อความราคายางพาราผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ฯลฯ (มี
ถูกต้อง รวดเร็ว)
2.4 สนับสนุนงบประมาณในการจัดประชุม อบรม ศึกษา 3.59 มาก 1.10 3.50 มาก 1.05
ดูงานร่วมกันระหว่างกลุ่ม/สถาบันเกษตรกร
3) พนักงาน/เจ้าหน้าที่ สกย. 4.43 มากที่สุด 4.04 มาก
3.1 การให้คําแนะนําในการซื้อขายผลผลิตยางพารา 4.38 มากที่สุด 0.65 4.14 มาก 0.68
3.2 ให้คําปรึกษาในการคัดคุณภาพยาง (เกรด) กับกลุ่ม/ 4.43 มากที่สุด 0.59 3.94 มาก 0.86
สถาบัน
3.3 ความเป็นกลางของเจ้าหน้าที่ สกย. ในการตัดสิน 4.48 มากที่สุด 0.51 4.03 มาก 0.77
ปัญหาอย่างยุติธรรม และเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย
4) ผลผลิตยางพาราในตลาดยาง สกย. 4.18 มาก 4.08 มาก
4.1 ผลผลิตยางพาราได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับของทุก 4.17 มาก 0.49 4.06 มาก 0.73
ฝ่าย
4.2 การคัดคุณภาพยางพาราตรงตามมาตรฐานที่กําหนด 4.18 มาก 0.50 4.09 มาก 0.66
(เกรด) และให้ราคาตามคุณภาพ
รายงานการประเมินผลการดําเนินงานของ สกย. ปี 2553 หน้า 46