Page 41 -
P. 41
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
4.1.4 ความพึงพอใจต่อการได้รับความรู้และการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ของเกษตรกร
เกษตรกรที่อยู่ระหว่างสงเคราะห์มีความพึงพอใจต่อการได้รับความรู้ ในระดับมาก (3.87) และมีความ
คิดเห็นต่อการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในระดับมาก (3.57) มีรายละเอียดดังนี้ เกษตรกรมีความพึงพอใจต่อ
การได้รับความรู้ในระดับมาก ทุกประเด็น ในขั้นตอนการปลูกแทน (4.20) การกรีดยาง (4.01) การจัดการสวน
ยางพ้นสงเคราะห์อย่างยั่งยืน (3.99) การใส่ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (3.93) โรคและศัตรูยาง คะแนนเท่ากันกับ
การผสมปุ๋ ยใช้เอง (3.92) การทําปุ๋ ยอินทรีย์ชีวภาพ (3.78) การทํายางแผ่นชั้นดี (3.73) การขยายพันธุ์ยาง (3.60)
และการบริหารจัดการนํ้ายางสด (3.59) ตามลําดับ
เกษตรกรมีความเห็นต่อการนําความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ในระดับมากที่สุด ในขั้นตอนการปลูก
แทน (4.23) ในระดับมาก การกรีดยางเท่ากันกับการจัดการสวนยางพ้นสงเคราะห์อย่างยั่งยืน (3.95) การใส่ปุ๋ ย
ตามค่าวิเคราะห์ดิน (3.77) โรคและศัตรูยาง (3.76) และการบริหารจัดการนํ้ายางสด (3.47) ใน ระดับปานกลาง
การผสมปุ๋ ยใช้เอง (3.23) การทํายางแผ่นชั้นดี (3.18) การทําปุ๋ ยอินทรีย์ชีวภาพ (3.16) และการขยายพันธุ์ยาง
(3.00) ตามลําดับ (ดังตารางที่ 4-4)
ตารางที่ 4-4 ความพึงพอใจต่อการได้รับความรู้และการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ของเกษตรกร
n = 425
การได้รับความรู้ การนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
หลักสูตร/ประเด็น
ค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับ ค่า S.D. ค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับ ค่า S.D.
1) การกรีดยาง 4.01 มาก 0.78 3.95 มาก 0.93
2) การทํายางแผ่นชั้นดี 3.73 มาก 1.06 3.18 ปานกลาง 1.24
3) ขั้นตอนการปลูกแทน 4.20 มาก 0.60 4.23 มากที่สุด 0.64
4) การจัดการสวนยางพ้นสงเคราะห์อย่างยั่งยืน 3.99 มาก 0.79 3.95 มาก 0.88
5) การใส่ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน 3.93 มาก 0.92 3.77 มาก 1.08
6) การโรคและศัตรูยาง 3.92 มาก 0.80 3.76 มาก 0.98
7) การผสมปุ๋ ยใช้เอง 3.92 มาก 2.66 3.23 ปานกลาง 1.29
8) การขยายพันธุ์ยาง 3.60 มาก 1.06 3.00 ปานกลาง 1.25
9) การทําปุ๋ ยอินทรีย์ชีวภาพ 3.78 มาก 0.98 3.16 ปานกลาง 1.33
10) การบริหารจัดการนํ้ายางสด 3.59 มาก 1.03 3.47 มาก 1.10
3.87 มาก 3.57 มาก
รายงานการประเมินผลการดําเนินงานของ สกย. ปี 2553 หน้า 35