Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





































                              ภาพที่ 4-3 ความพึงพอใจต่อการได้รับความรู้และการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์


                 4.2 เกษตรกรหลังรับการสงเคราะห์


                        จากการศึกษาความพึงพอใจ/ความคิดเห็นของเกษตรกรหลังรับการสงเคราะห์การทําสวนยางพารา

                 ต่อการดําเนินงานของสํานักงานกองทุนสงเคราะห์การทําสวนยาง (สกย.) โดยสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง จํานวน
                 403 ราย ผลการศึกษา ดังนี้


                        4.2.1 ข้อมูลทั่วไป

                        ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรหลังรับการสงเคราะห์ จํานวน 403 คน ส่วนใหญ่เป็น เพศชาย

                 ร้อยละ 66.75 อายุระหว่าง 51-60 ปี ร้อยละ 31.02 จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 44.42 และ

                 การศึกษา อื่นๆ ระบุ ร้อยละ 14.39 ได้แก่ จบประถมศึกษาปีที่ 7 ไม่ได้เรียนหนังสือ มัธยมศึกษาปีที่ 3 (มศ.3)
                 ค่าเฉลี่ยการถือครองที่ดินของเกษตรกร พื้นที่ทั้งหมด 45 ไร่ พื้นที่  ทําการเกษตร 43 ไร่ และพื้นที่ทําสวน

                 ยางพารา 34 ไร่ ส่วนใหญ่เกษตรกรมีพื้นที่น้อยกว่า 21 ไร่ ในการทําสวนยางพารา คิดเป็นร้อยละ 54.59

                 (ตารางที่ 4-5)

                 ตารางที่ 4-5 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรหลังรับการสงเคราะห์

                                                                                                      n = 403
                                    ประเด็น                             จํานวน                 ร้อยละ

                 1. เพศ

                    ชาย                                                  269                    66.75
                    หญิง                                                 134                    33.25


                 รายงานการประเมินผลการดําเนินงานของ สกย. ปี 2553                                      หน้า 36
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47